ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลของการบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา ในโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีศักดิ์, ทองทิพย์
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:03:23Z
dc.date.available 2019-08-09T04:03:23Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2558) : หน้า 59 - 73 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5258
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ศึกษาผลการบริหาร สถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา และศึกษาแนวทางพัฒนาการบริหารสถานศึกษาตาม หลักไตรสิกขาในโรงเรยี นวถิ ีพุทธจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ วิธีดำ� เนินการวิจัย ใช้การ ตรวจสอบเอกสาร การสังเกต สอบถาม และสัมภาษณ์ เครื่องมือวิจัยมี 3 แบบ คือ แบบบันทึกการสังเกต ใช้บันทึกเก็บข้อมูลสภาพปัจจุบันโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ� จังหวัด สุรินทร์และบุรีรัมย์ จำ� นวน 7 แห่ง แบบสอบถามใช้ถามครู 94 คน และ ผู้ปกครอง นักเรียน 317 คน และแบบสัมภาษณ์ ใช้สัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา 7 คน ครู 7 คน และพระสงฆ์ 5 รูป วิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ� จังหวัดสุรินทร์ และบุรีรัมย์กลุ่มตัวอย่างมีอายุมากกว่า 50 ปี ชุมชนรอบ ๆ สถานศึกษาเป็นชนบท กึ่งชุมชนเมือง คนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นับถือพระพุทธศาสนา จบการศึกษาสูงสุดประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อปีต่อครัวเรือน 20,000 ถึง 60,000 บาท ภายในสถานศึกษา มีอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมที่ดี จำ� นวนบุคลากรตํ่า สุด 8 คน และสูงสุด 26 คน วุฒิการศึกษาตํ่าสุดปริญญาตรี และสูงสุดปริญญาโท จำ� นวนนักเรียนตํ่าสุด 112 คน และสูงสุด 367 คน จัดโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ งบประมาณ งานบุคคล และ การบริหารทั่วไป มีการกำ� หนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา มีแนวทางพัฒนาและกลยุทธ์การพัฒนา มีการดำ� เนินงานตาม แผนกลยุทธ์ และมีการบริหารสถานศึกษาตามหลัก ไตรสิกขาอย่างบูรณาการ การบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา ในโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ� จังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ มีผลสำ� เร็จ 3 ประการ คือ 1) ผลสำ� เร็จตามจุดเน้น ด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิถีพุทธ มีคุณภาพโดย รวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม และผลการประเมินความ คิดเห็นของบุคลากรในสถานศึกษาและความพึง พอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อผลสำ� เร็จตามจุด เน้นด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิถีพุทธ โดยรวมมี คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2) ผลสำ� เร็จตามผลการ ประเมินมาตรฐานการศึกษาของ สมศ. โดยรวมมี คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และผลการประเมินความ คิดเห็นของบุคลากรในสถานศึกษาที่มีต่อคุณภาพ การบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขาโดยรวม มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 3) ผลสำ� เร็จของการ บริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา พบว่าสถาน ศึกษามีทรัพยากรทางการบริหารทุกด้านอย่างพอ เพียงและมีการบูรณาการหลักไตรสิกขาในด้าน กระบวนการบริหาร เป็นไปตามหลักของไตรสิกขา ชุมชนได้รับประโยชน์จากการพัฒนาโรงเรียนวิถี พุทธ และผลการประเมินความคิดเห็นของบุคลากร ในสถานศึกษาและความพึงพอใจของผู้ปกครอง นักเรียน โดยรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก แนวทางพัฒนาการบริหารสถานศึกษาตาม หลักไตรสิกขาในโรงเรียนวิถีพุทธจังหวัดสุรินทร์และ บุรีรัมย์ มี 3 แนวทาง คือ 1) แนวทางพัฒนาด้าน อัตลักษณ์โรงเรียนวิถีพุทธ กลุ่มตัวบ่งชี้ใดที่ดำ� เนิน การได้ครบถ้วนตามจุดเน้นด้านอัตลักษณ์โรงเรียน วิถีพุทธแล้วสถานศึกษาต้องรักษาให้คงอยู่อย่าง ยั่งยืนต่อไป กลุ่มตัวบ่งชี้ใดที่ยังมิได้ดำ� เนินการต้อง จัดดำ� เนินการให้มีขึ้น และให้นำ� แนวทางพัฒนาที่ นำ� เสนอไว้ในด้านกายภาพ ด้านพฤติกรรมนักเรียน ครู ผู้บริหาร ด้านกิจกรรมประจำ� วันพระ ด้านการ ส่งเสริมวิถีพุทธ และด้านการเรียนการสอน มาใช้ เป็นแนวทางพัฒนาด้านอัตลักษณ์โรงเรียนวิถีพุทธ 2) แนวทางพัฒนาด้านคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ให้นำ� แนวทางพัฒนาตามมาตรฐานที่นำ� เสนอไว้ในด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการจัดการศึกษา ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา และด้านมาตรการส่งเสริม มาใช้ เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 3) แนวทางพัฒนาด้านการบริหารสถาน ศึกษาตามหลักไตรสิกขา ด้านสถานศึกษา จัดสภาพ แวดล้อมทางกายภาพและทางสังคมให้เป็นไปตาม หลักของศีล ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกัลยาณมิตร จัดกิจกรรมพัฒนาด้านสมรรถภาพจิต คุณภาพจิต สุขภาพจิต จัดกิจกรรมพัฒนาปัญญาของบุคลากร และนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ด้านชุมชน สถานศึกษา และสถาบันในชุมชน ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชุมชน อนุรักษ์ และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีที่ดี งามของชุมชน en_US
dc.description.abstract This research aimed to study current condition, achievement of educational institution administration by using Threefold Training Principle, and development method of educational institution administration using Threefold Training principle in the leading Buddhism Oriented Schools in Surin and Buriram provinces. The research methodology used was review of literature, observation, enquiry, and interview. The research instruments used were 1) observation form used for collecting current information from 7 leading Buddhism Oriented Schools in Surin and Buriram provinces 2) questionnaire used for questioning 94 teachers and 317 students’ guardians 3) interview form used for interviewing 7 school administrators, 7 teachers, and 5 Buddhist monks. Data analysis was done by description. The research results revealed that the current conditions of the leading Buddhism Oriented Schools in Surin and Buriram provinces were as follows : the respondents were more than 50 years of age ; community around the educational institution was semi-urban community ; the most of respondents had agricultural careers, believed in Buddhism, graduate of primary education, and gained an average of a family incomes 20,000 to 60,000 Baht per year ; within the educational institutions, there were good buildings and atmospheres, 8 personnel at the lowest rate and 26 at the highest rate, bachelors degree educational qualification at the lowest level and master’s degree at the highest level, 112 students at the lowest rate and 367 at the highest rate ; administrative structure was divided into 4 aspects i.e. academic administration, budget administration, personnel administration, and general administration ; there were formulation of schools’ vision, mission, goal, identity, and uniqueness ; there were the development methods and strategies ; the operation was done according to schools’ strategic plan and the administration was done by using Threefold Training Principle. Three aspects of educational administration achievement by using Threefold Training Principle in the leading Buddhism Oriented Schools in Surin and Buriram prov inces were found as follows : 1) the school’s identity was at a excellent level, and satisfaction assessment of personnel and students’ guardian to the school’s identity was at very good level 2) the schools had been qualified at very good level by Office for National Education Standard and Quality Assessment Public Organization (ONESQA), and satisfaction assessment of personnel to the quality of educational institution administration using Threefold Training principle was at very good level, 3) the educational institution administration by using Threefold Training principle was found that there were enough administrative resources and the principle of the Threefold Training was integrated in administrative processes; the community got benefits from development of the Buddhism Oriented Schools; and satisfaction assessment of personnel and students’ guardian to educational institution administration was at very good level. Three development methods of educational institution administration using Threefold Training principle in the leading Buddhism Oriented Schools in Surin and Buriram provinces were found as follows : 1) for the development methods on identity of the Buddhism Oriented Schools, it is recommended that the schools must sustainably continue to develop those identities’ indicators which were accomplished ; the schools must take action for those identities’ indicators which have not been done by utilizing the proposed development ways i.e. the physical aspect, the behaviors aspect of students, teachers, and administrators, the aspect of the Buddhist holidays’ activities, the promotion aspect of Buddhist way of life, and the aspect of learning and teaching; 2) for the development methods on educational administration quality of the educational institutions, it is recommended that the administrators should operate by utilizing the proposed development methods in various aspects i.e. the aspects of learners’ quality, educational management, learning society construction, educational institution identities, and promotion measures; 3) for the development methods on educational institution administration using the Threefold Training, it is recommended that the school should manage the physical and social aspects based on the principle of Sila, administrators should be good friends to all school personnel, there should be activities to develop mind’s capacity, quality, and health, there should be continuous activities to develop personnel and students’ wisdom 2) in the community, the schools and the various institutions in the communities should have more cooperation to solve possible problems within the communities, preserve and broaden a good culture and tradition of the communities. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผลของการบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา ในโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ en_US
dc.title ผลของการบริหารสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา ในโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Achievement of Educational Institution Administration using threefold Training Principle in the leading Buddhism - Oriented Schools In Surin and Buriram Provinces en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics