ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ประสิทธิภาพของวิธีการจำแนกประเภท การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบควบคุมและไม่ควบคุม

Show simple item record

dc.contributor.author เอกลักษณ์, สลักคำ
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:56:32Z
dc.date.available 2019-08-09T03:56:32Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2558) : หน้า 75 - 86 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5251
dc.description.abstract แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการวางแผน เพื่อบริหารและจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ ในอดีตการจัดทำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน อาศัยการแปลภาพถ่ายด้วยสายตา แต่ปัจจุบันมีการนำวิธีการประมวลผลข้อมูล ภาพถ่ายจากดาวเทียมไปใช้อย่างแพร่หลาย วิธีการประมวลผลข้อมูลดังกล่าวมีด้วยกัน หลายวิธี การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการจำแนกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยวิธีการจำแนกข้อมูลแบบควบคุมและไม่ควบคุมและทดสอบสอบประสิทธิภาพ ของวิธีการจำแนกประเภทข้อมูลแต่ละวิธี โดยทำการเปรียบเทียบผลการจำแนก ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยวิธีวิธีการจำแนกแบบจัดกลุ่มโดยเรียงลำดับ เทคนิค การวิเคราะห์ข้อมูลให้เป็นระบบเดียวกันแบบทำซํ้า การประยุกต์ทฤษฎีฟัซซีเซต วิธีการจำแนกแบบระยะทางสั้นที่สุด วิธีการจำแนกแบบสี่เหลี่ยมคู่ขนาน วิธีการ จำแนกแบบความน่าจะเป็นสูงสุดและวิธีโครงข่ายใยประสาทเทียม เทียบกับผลจาก การจำแนกที่ได้จากการตีความภาพถ่ายจากดาวเทียมด้วยสายตา ผลการวิจัย พบว่า ผลจากการจำแนกประเภทข้อมูลด้วยวิธีโครงข่ายใยประสาทเทียมมีความใกล้เคียงกับ ผลผลจากการจำแนกที่ได้จากการตีความภาพถ่ายจากดาวเทียมด้วยสายตามากที่สุด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.27 en_US
dc.description.abstract Land use and land cover maps were essential data for resources planning and development. In the past, the visual interpretation was mainly used in land use classification, nowadays, digital image processing played an important role and widely used. However, there were many types of image processing to classify land use. This research was conducted with objectives of classifying the land use by using supervised and unsupervised classification, the efficiency of which was tested by comparison. The results of land use classification by K-means clustering, ISODATA clustering, Fuzzy clustering, Minimum Distance clustering, Paralellepiped technique, Maximum Likelihood, and Neural Network were compared with the results of land us classification analyzed by visual interpretation. The research results showed the consistency of the data classification by means of Neural Network clustering and visual interpretation at the highest level of kappa coefficient (k = 0.27). en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประสิทธิภาพของวิธีการจำแนกประเภท การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบควบคุมและไม่ควบคุม en_US
dc.title ประสิทธิภาพของวิธีการจำแนกประเภท การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบควบคุมและไม่ควบคุม en_US
dc.title.alternative The Efficiency of Supervised and Unsupervised Land-use Classification en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics