ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การจัดการแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดบุรีรัมย์ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

Show simple item record

dc.contributor.author ชลาวัล, วรรณทอง
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:52:07Z
dc.date.available 2019-08-09T03:52:07Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2558): หน้า 175 - 189 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5247
dc.description.abstract การจัดการแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดบุรีรัมย์ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวรวมถึงสร้างเว็บแอพพลิเคชั่นในการนำเสนอฐานข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยว และเสนอแนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดบรุรัมย์สำหรับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ได้ใช้วิธีการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและข้อมูลอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลร้านอาหาร โรงแรมและสถานีบริการนํ้ามัน แล้วสร้างเว็บแอพพลิเคชั่นจากความต้องการของนักท่องเที่ยว รวมถึงการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อโปรแกรมและเสนอแนวทางการท่องเที่ยวหรือจัดทำเป็นแพ็กเกจทัวร์ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวจำนวน 22แห่ง ข้อมูลร้านอาหารจำนวน 207 แห่ง โรงแรมจำนวน 95 แห่ง และสถานีบริการนํ้ามันจำนวน 252 แห่ง สำหรับโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่นสามารถตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้ทันที ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล ได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการท่องเที่ยวหรือแพ็กเกจทัวร์ออกเป็น 3 เส้นทาง ได้แก่ แพ็กเกจทัวร์ประเพณีแข่งเรืออำเภอสตึก ถึงอนุสาวรีย์พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก แพ็กเกจทัวร์งานแข่งว่าวอำเภอห้วยราช ถึงอนุสาวรีย์พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และแพ็กเกจทัวร์อุทยานประวัติศาสตร์เขาพนมรุ้งถึงเขื่อนลำนางรอง ผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับดี en_US
dc.description.abstract The research on the management of tourist attractions in Buriram Province with Geo-information Technology aimed to gather tourist attractions, to create a web application for presenting database of tourist information, and to propose ways for managing tourist attractions in Buriram Province. For data collection and analysis, a web application derived from tourists’ needs was created after the survey of information of tourist attractions and other accessories : restaurants, accommodations, and gasoline service station. Also, tourists satisfaction towards the program designed was evaluated. In addition, the ways of making route trips or offering package tours were proposed. The results revealed that the numbers of tourist attractions, restaurants, accommodation, and gas stations were 22, 207, 95, and 252, respectively. Considering the web application created, it could immediately serve the needs of users and they can add, correct, or delete the information freely. The three route trips or package tours proposed by the researcher were Satuek Long Boat Racing Festival to King Rama I Monument, Huai Rat I-San Kite Festival to King Rama I Monument, and Phanom Rung Historical Sanctuary Park to Lam Nangrong Dam, the evaluation result of tourist satisfaction was at the good level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การจัดการแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดบุรีรัมย์ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ en_US
dc.title การจัดการแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดบุรีรัมย์ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ en_US
dc.title.alternative Management of Tourist Attractions in Buriram Province with GeoinformationTechnology en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics