ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

บทบาทนางยักษ์ในการแสดงโขนและละครรำ

Show simple item record

dc.contributor.author จิรัชญา, บุรวัฒน์
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:20:20Z
dc.date.available 2019-08-09T03:20:20Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 15, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560): หน้า 51-62 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5220
dc.description.abstract “บทนางยักษ์ที่สำคัญในการแสดงโขนและละครรำ" เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ในหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย เรื่อง "นาฏยลักษณ์ของนางยักษ์ในโขนและละครรำ" โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์นาฏยลักษณ์ของตัวนางยักษ์ในการแสดงโขนและละครรำโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพจากการค้นคว้า เอกสาร การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้เคยได้รับบทบาทนางยักษ์ในการแสดงโขนและละครรำผลการวิจัยพบว่านางยักษ์ เป็นบทบาทที่สร้างความพลิกผันและสีสันในการดำเนินเรื่องของโขนและละครรำ นางยักษ์ในโขนตัวสำคัญ เช่น นางสำมนัก ขาและนางอากาศตะไลเป็น นางยักษ์ในละครใน ได้แก่ นางศุภลักษณ์กรรฐา นางยักษ์ในละครนอก มีทั้งนางยักษ์ที่เป็นนาง กษัตริย์ ได้แก่ นางพันธุรัต และ นางยักษ์ป่า ได้แก่ นางผีเสื้อสมุทร นางยักษ์ในละครดึกดำบรรพ์ ได้แก่ นางศูรปนขา การ แสดงบทนางยักษ์ขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการ ได้แก่ ประเภทของโขนและละครรำที่มีบทนางยักษ์ บทบาทการดำเนินเรื่อง ตามวรรณกรรมชนชั้นวรรณะของนางยักษ์ และการแสดงอารมณ์และพละกำลังของบทนางยักษ์ซึ่งสะท้อนออกมาผ่าน การแสดงบทนางยักษ์ในโขนและละครรำ en_US
dc.description.abstract “The Significant Role of Female Demon in Khon Performance and Dance-Drama" was the part of the dissertation of the Doctor of Arts Program in Thai Theatre and Dance in the topic of "Characteristic of Performance of the Female Demons in Khon and Dance-Drama” The objectives were study and analyze the characteristics of the performance of female demons in the Khon masked drama and dance drama. The research was a qualitative research and the research methods used were documentary research, observation of the performance of female demons in Khon masked drama and dance drama and interview of the dance artists who performed the above-mentioned female demon roles. The research finding revealed that female demon was the role creating quirkiness and vividness in continuity of dance-drama and Khon story. Female demon in significant Khon characters was Samanakha and Akadtalai. The female demons in Lakon Nai were Supalakkantha. The female demon in Lakon Nok were both the queen such as Phanturat and wild female demon such as Phee Suea Samut. For female demon in Lakon Dukdamban, there was Supanakha. The role of female demon depended on 4 factors including type of Khon and dance-drama with the role of female demon and role of story continuity according to the literature, caste of female demon, and emotional expression and power of female demon role, reflecting out through the performance of female demon role in Khon and dance-drama. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject บทบาทนางยักษ์ในการแสดงโขนและละครรำ en_US
dc.title บทบาทนางยักษ์ในการแสดงโขนและละครรำ en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics