ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กระบวนการแก้ปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเบ็ตตี้ดูเมน

Show simple item record

dc.contributor.author พูนพงษ์, งามเกษม
dc.date.accessioned 2019-08-09T02:46:54Z
dc.date.available 2019-08-09T02:46:54Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 233 - 241 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5200
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการแก้ปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อย่างยั่งยืนของโรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนเบ็ตตี้ดูเมนตามแนวทางนวัตกรรมต้นแบบ ศิวกานท์ ปทุมสูติ (2554) “เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้แก้ง่ายนิด เดียว” 3 ประเด็น คือ 1) สภาพปัญหา 2) กระบวนการตามนวัตกรรมต้นแบบ และ 3) บริบทปัญหา อุปสรรค และมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหา โดยใช้แบบสำรวจ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกข้อมูล และแบบทดสอบ ผลการวิจัยสรุป ได้ 3 ประเด็น คือ 1) สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในด้านดีที่ครูและผู้เรียนเห็นสอดคล้องกันในระดับมาก คือ การสอน โดยใช้หนังสือเรียน ชุดแบบฝึก และการบ้าน ส่วนข้อคิดซึ่งต่างกัน อาทิ การขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง การสอนซ่อมเสริม การแก้ปัญหาเด็กรายบุคคล และการจัดแสดงผลงานการอ่าน-การเขียน โดยครูจะเห็นว่าดีระดับมากที่สุดทุกประเด็น ขณะ ที่นักเรียนเห็นว่าดีระดับมากบางประเด็น อาทิ การใช้สื่อ ICT และการสอนแบบบูรณาการ และพบว่าผู้เรียนและครูมีความ กระตือรือร้น ความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้ระดับมากที่สุด รวมทั้งสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับดีมาก 2) กระบวนการตามนวัตกรรมต้นแบบ มี 6 ขั้นตอน คือ ออกคำ สั่งมอบหมายหน้าที่ ครูอาสาทดสอบผู้เรียน แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามผลคะแนนสอบ ทำตารางสอน 18 สัปดาห์ เขียนชาร์ตแผนภูมิ และดำเนินการสอน และ 3) การเขียนคำไทย มี 3 ปัญหา คือ การเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ส่วนการอ่านคำไทย มี 4 ปัญหา คือ อ่านไม่ออกทั้งคำอ่านไม่ออกบางส่วน การออกเสียงพยางค์ และอ่านเป็นคำอื่น en_US
dc.description.abstract The objective of this study was to examine the sustainable solution process for illiteracy of Betty Dumen Border Patrol School, Pong District, Phayao Province. This study was based on the innovation of Siwakarn Patoommasoot (2010). The present study reported three issues: 1) problems of the context 2) sustainable solution process for Illiteracy and 3) obstacles, and effective teaching and learning standard for the resolution. The data obtained through several methods: survey questionnaires, observation field notes and achievement tests. The results revealed three important issues as follows. 1) With regard to the problem of illiteracy responded by teachers and students, there was an agreement among them in “highest level” in the item of teachers teaching the whole class not grouping them based on their proficiency levels. Both the teachers and the students agreed in “high level” that the teaching activity was relied on books, exercises, and homework. The teachers and the students had different opinion on the request for parent cooperation, remedial teaching, problem solving of each student, ICT teaching media, teaching by using source of information, integrated teaching, learning activity from the library/book corner, academic competition, and reading and writing activity exhibition. For the students’ efficacy, it was found that both the teachers and the students had an agreement in “high level” in all aspects. These were their enthusiasm, responsibility, class participation, positive attitude, the suitability of teaching and learning. The classroom was also viewed in “high level”. 2) There were six stages of the solution process for Illiteracy. This was started from assigning the responsibility for teachers involved. It was followed by testing the students by using dictation method, grouping them based on the scores, scheduling the 18-week teaching table, constructing chart. Finally, the volunteer teacher taught the students based on the four-step skills pattern. 3)There were three problems found when examining the problem of the context, obstacle, as well as effective teaching and learning standard for Thai word writing. These problems were writing consonant, vowel, and tonal mark. Also there were four problems found in reading Thai word as being unable to read the whole word, being unable to read some part of the word, pronouncing wrong syllable, and pronouncing wrong word. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject กระบวนการแก้ปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเบ็ตตี้ดูเมน en_US
dc.title กระบวนการแก้ปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเบ็ตตี้ดูเมน en_US
dc.title.alternative The Sustainable Solution Process for Illiteracy: A Case Study of Betty Dumen Border Patrol School en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics