ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการดูแลระยะยาวแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วม ของชุมชนสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลดงบัง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

Show simple item record

dc.contributor.author กัญญารัตน์, กันยะกาญจน์
dc.contributor.author ฐิติมา, โกศัลวิตร
dc.contributor.author นฤมล, บุญญนิวารวัฒน์
dc.date.accessioned 2019-06-22T07:27:42Z
dc.date.available 2019-06-22T07:27:42Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation มนุษยสังคมสาร, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2562) : หน้า 1-19 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5006
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์บริบทและสถานการณ์การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายชุมชน และ 2) พัฒนารูปแบบการดูแลระยะยาวแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสา หรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุ จำนวน 316 ราย กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนารูปแบบคือ ผู้ที่มีประสบการณ์หรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลผู้สูงอายุ 35 คน เลือกโดยวิธี Snowball Sampling เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีผู้ดูแลหลัก เป็นสมาชิกในครอบครัว ให้การดูแลกิจวัตรประจำวัน ส่วนการดูแลโดยเครือข่ายชุมชนและหน่วยงานภาครัฐเป็นการเยี่ยมบ้านและการดูแลสุขภาพที่บ้าน รูปแบบการดูแลระยะยาวแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่ง พิงประกอบด้วย 1) การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ/ผู้ดูแล 2) การดูแลต่อเนื่องในชุมชน 3) การบริการเชิงรุก 4) การบริการในสถานพยาบาล 5) การสร้างเครือข่ายและสร้างการมีส่วนร่วม และ 6) การรับข้อมูล/ให้คา ปรึกษา " en_US
dc.description.abstract The research aimed to 1) analyze the context and long-term care situation of elderly people by the community network, and 2) develop the integrated community-based long term care model using community participation for dependent elders. The samples were 316 elderly people. The target group for the development of the model was composed of 35 persons who had experiences or were directly related to the care for the elderly. They were selected via snowball sampling. The instruments were in-depth interviews, questionnaire and focus group discussion. The statistics were percentage, mean, standard deviation. Content analysis was also utilized. The results revealed that family members were the main caregivers to provide the elderly with daily care while the community network and government agencies provided care for the elderly by visiting home and offered them health care at home. The integrated community-based long term care model using community participation for dependent elders consisted of 1) development of potential of the elderly/caregivers, 2) continuous care for them in the community, 3) proactive services, 4) medical services, 5) building network and participation, and 6) information reception/consultation. " en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการดูแลระยะยาวแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วม ของชุมชนสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลดงบัง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี en_US
dc.title รูปแบบการดูแลระยะยาวแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วม ของชุมชนสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลดงบัง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี en_US
dc.title.alternative Integrated Community-Based Long Term Care Model Using Community Participation for Dependent Elders at Dongbang Promoting Hospital in Mueang District, Ubon Ratchathani Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics