ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการจัดการแรงงานต่างด้าวในธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง

Show simple item record

dc.contributor.author บุญทอง, เอื้อหิรัญญานนท์
dc.contributor.author กัญญามน, อินหว่าง
dc.date.accessioned 2019-06-22T07:00:03Z
dc.date.available 2019-06-22T07:00:03Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร,ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ( ก.ย.-ธ.ค. 2561 ): หน้า 397-411 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4993
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการจัดการแรงงานต่างด้าวในธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และหาแนวทางการจัดการแรงงานต่างด้าวของบริษัทที่ทำการศึกษาในธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในสภาวการณ์ปัจจุบันของประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เจาะลึกด้วยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และการสนทนากลุ่ม ซึ่งผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ แรงงานต่างด้าว กลุ่มบริหารโครงการ ผู้นำเข้าแรงงาน บริษัทที่นำเข้าแรงงาน และผู้บริหารภาครัฐ จำนวน 115 คน เลือกสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.99 และค่าดัชนีความสอดคล้องกัน (IOC) เท่ากับ 0.95 การตรวจสอบข้อมูลใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท างานส่วนใหญ่มีความยากจน การศึกษาน้อย มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต ไม่มีประสบการณ์หรือทักษะในการท างานก่อสร้าง มีความเป็นอยู่ในระดับมาตรฐานที่ต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สังคมและการอยู่อาศัยเป็นกลุ่มเดียวกัน รักสงบ แต่มีความเกรงกลัวต่อเจ้าหน้าที่รวมถึงกฎหมายบ้านเมืองของประเทศไทย ดำรงชีพในหน่วยงานก่อสร้างเป็นไปอย่างเรียบง่าย (2) จัดระบบการจัดการแรงงานต่างด้าวในมิติของสังคม เพื่อให้แรงงานต่างด้าวได้รับการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายด้วยความเสมอภาพ พัฒนาและเพิ่มทักษะความชำนาญให้แก่แรงงานต่างด้าว ควรมีการจัดการระบบ Project Management โดยมีการจัดระบบการบริหารโครงการออกเป็นลักษณะงาน เพื่อจัดสรรแรงงานต่างด้าวให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งมีการจัดการการบริหารโครงการ การจัดระบบโครงสร้างและนวัตกรรมการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คำสำคัญ: การจัดการ, แรงงานต่างด้าว, ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were to study the characteristics of foreign workers management in the construction business and to find out how to manage the foreign workers in the construction business in Thailand. This research was a qualitative research based on the following sources: documents, in-depth- semi-structured interview, and group discussions. The key informants were foreign workers, project management people, labor import agents, labor importing companies, and government executives for a total of 115 persons. The key information was selected by a specific sampling method with a content validity of 0.99 and an IOC value of 0.95. Data validations were triangulation and content analysis method. The results of the study revealed that: (1) Most of foreign workers were poor, less education, insufficient income, and lack of experience or skills in construction and have a low standard of living with a statistically significant. A group of them live together, privacy, but fearful of the authorities and the law of Thailand, and the livelihood simplicity. (2) Should be organized a management system of foreigners workers in the social dimension to ensure that migrant workers are treated in a legal manner. The development and enhancement of skills for migrant workers. In addition, should be the project management system that dividing the project into tasks to allocate foreign workers for maximum benefit. Including to project management and structuring as well as innovation in human resource management. Keywords: management, migrant worker, construction business en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject แนวทางการจัดการแรงงานต่างด้าวในธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง en_US
dc.title แนวทางการจัดการแรงงานต่างด้าวในธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง en_US
dc.title.alternative Approaches of Migrant Workers Management in the Construction Business en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics