ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาการใช้สาระสนเทศของเกษตรกรชาวไร่อ้อยอำเภอสตึกจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author เบญจมาศ, มีศรี
dc.contributor.author ฉันทนา, เวชโอสถศักดา
dc.date.accessioned 2019-06-22T06:52:02Z
dc.date.available 2019-06-22T06:52:02Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร,ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ( ก.ย.-ธ.ค. 2561 ): หน้า 451-471 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4989
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้สารสนเทศทางการเกษตรของชาวไร่อ้อย อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ เกษตรกรชาวไร่อ้อย 4 ศูนย์บริการ จำนวน 2,830 คน โดยวิธีการคำนวณแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วน จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปโดยใช้สถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สภาพการใช้สารสนเทศของเกษตรกรชาวไร่อ้อย อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ การใช้ประเภทสารสนเทศ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์มากกว่าสิ่งไม่ตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ การไถเพื่อปรับสภาพดิน ร้อยละ 92.3 รองลงมาคือ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ร้อยละ 91.4 และลักษณะดิน ร้อยละ 89.7 ส่วนการใช้แหล่งสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้แหล่งสถานที่มากกว่าแหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งเหตุการณ์ แหล่งสื่อมวลชนและแหล่งอินเทอร์เน็ต เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่มีค่ามากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ปลูกด้วยแรงงานคน ร้อยละ 100 รองลงมาคือ การใช้สารเคมี ร้อยละ 98.0 และข้อที่มีค่าเท่ากัน ร้อยละ 97.7 ได้แก่ การให้ปุ๋ย การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้ปุ๋ยมูลสัตว์และปุ๋ยเคมี และการบำรุงตอ คำสำคัญ: การใช้สารสนเทศ, สารสนเทศทางการเกษตร, เกษตรกรชาวไร่อ้อย en_US
dc.description.abstract The study on information use of sugarcane farmers in Satuk district, Buriram province was a survey study. The population was 2,830 sugarcane farmers from 4 service centers. The samples of 350 persons. The data were analysis by using statistical program in terms of percentage, mean, and standard deviation. The results were as follows: In terms of the utilization of information of the sugarcane farmers in Satuk District, in overall, most of the farmers utilized information at a high level in every item and they used more printed media than electronic media or other types of media. When considering each item, the highest top-three scores were from plowing for soil remediation (92.3%), soil fertility (91.4%) and soil types (89.7%), respectively. In terms of the need of information, most farmers gained the information from place sources rather than from individuals, institutions, events, media and internet. When considering each item, the highest top-three scores were from planting the sugar canes by using human labor (100%) and using chemicals (98.0%), respectively. The use of chemical fertilizer and manure, and taking care of the bottom part of sugar cane were at the same score (97.7%). Keywords: information use, agricultural information, sugarcane farmers en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การศึกษาการใช้สาระสนเทศของเกษตรกรชาวไร่อ้อยอำเภอสตึกจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title การศึกษาการใช้สาระสนเทศของเกษตรกรชาวไร่อ้อยอำเภอสตึกจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Study on Information Use of Sugarcane Farmers in Satuk District, Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics