ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนามาตรฐานจริยธรรมพื้นฐานสำหรับสื่อมวลชน:แนวทางกำกับดูแลตัวเองสำหรับรายการเกมโชว์และเรียลลิตี้โชว์

Show simple item record

dc.contributor.author นิษฐา, หรุ่นเกษม
dc.contributor.author ปรียา, สมพืช
dc.contributor.author สิริมณฑ์, พึ่งสังวาลย์
dc.contributor.author นิศรารัตน์, วิไลลักษณ์
dc.date.accessioned 2019-06-22T06:48:37Z
dc.date.available 2019-06-22T06:48:37Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร,ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ( ก.ย.-ธ.ค. 2561 ): หน้า 413-403 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4988
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐานจริยธรรมพื้นฐานสำหรับสื่อมวลชน โดยเฉพาะ แนวทางกำกับดูแลกันเองสำหรับรายการเกมโชว์และเรียลลิตี้โชว์ โดยมีผู้ร่วมพัฒนาเป็นตัวแทนจากสถาบันการศึกษา จำนวน 93 คน ตัวแทนจากองค์กรวิชาชีพสื่อ จำนวน 130 คน ตัวแทนจากองค์กรวิชาชีพด้านการโฆษณาการประชาสัมพันธ์ จำนวน 8 คน และตัวแทนจากองค์กรภาคประชาสังคม จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การสนทนากลุ่ม การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และแบบสังเคราะห์ข้อมูล คณะผู้วิจัยได้สังเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะออกมาเป็นข้อควรทำและข้อไม่ควรทำในรายการเกมโชว์และเรียลลิติ้โชว์ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบสำคัญในการผลิตรายการ ได้แก่ เนื้อหาของรายการ ฉากรายการ พิธีกรหรือผู้ดำเนินการรายการ ผู้ร่วมแข่งขันในรายการ ผู้ชมรายการ ทีมงานผลิตรายการ และผู้อุปถัมภ์รายการ สำหรับแนวทางกำกับดูแลกันเองสำหรับรายการเกมโชว์และ เรียลลิตี้โชว์ที่สำคัญ ทีมงาน/ผู้ผลิตรายการ ต้องตระหนักถึงเรื่องจริยธรรม จรรยาบรรณ และมี ความรับผิดชอบต่อสังคมในการน าเสนอและในการผลิตรายการ ต้องรับผิดชอบเนื้อหา รูปแบบรายการ และอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในรายการเพราะถือเป็นวิจารณญาณของผู้ผลิตโดยตรง คำสำคัญ: จริยธรรมสื่อสารมวลชน, การกำกับดูแลตัวเอง, รายการเกมโชว์, รายการเรียลลิตี้โชว์ en_US
dc.description.abstract The purpose of this research was to develop an ethical standard for the media, especially the self-regulatory approach for gameshow and reality show. The joint development was representatives from the academic institution 93 persons, representatives from media organizations 130 persons, representatives from advertising & public relations 8 persons and representative from NGO organizations 34 persons. The tools used to collect data were group discussion, workshop and synthesized information form. The research team synthesized opinions and suggestions of all the representative on what to do (Do's) and what not to do (Don'ts) in gameshow and reality show, especially the critical elements in the program products such as the content, the show setting, the host, the contestants, the production team and the sponsor of the show. The self-regulation of gameshow and reality show guideline were recommended that the producer and the production team had to be ethically and socially responsible for the production process of the show. It was the responsibility of the content and other to be included in the show, as it was directly the producer's judgment. Keywords: media ethical practices, self-regulation, gameshow, reality show en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนามาตรฐานจริยธรรมพื้นฐานสำหรับสื่อมวลชน:แนวทางกำกับดูแลตัวเองสำหรับรายการเกมโชว์และเรียลลิตี้โชว์ en_US
dc.title การพัฒนามาตรฐานจริยธรรมพื้นฐานสำหรับสื่อมวลชน:แนวทางกำกับดูแลตัวเองสำหรับรายการเกมโชว์และเรียลลิตี้โชว์ en_US
dc.title.alternative A Development of Media Ethical Practices: Self-Regulation of Gameshow and Reality Show Guideline en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics