ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

นวัตกรรมแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษากลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงราย

Show simple item record

dc.contributor.author โชคฑีรภัคญ์, ธนเศรษฐวัฒนา
dc.contributor.author จารุวรรณ, เบญจาทิกุล
dc.contributor.author สมเกียรติ, รักษ์มณี
dc.contributor.author พรสวรรค์, สุวรรณธาดา
dc.date.accessioned 2019-06-18T04:27:31Z
dc.date.available 2019-06-18T04:27:31Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2561) : หน้า 273 - 301 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4838
dc.description.abstract บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษากลุ่มชาติพันัธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงรายและ2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้นวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษากลุ่มชาติพนัธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงรายกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่า ที่กำลังเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ปี การศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านเทอดไทย ตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย จำนวน 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการสร้างและประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย และ 2) เครื่องมือที่ใช้ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อนวตักรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่1)ค่าความถี่และค่าร้อยละในการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2)ค่าเฉลี่ย ในการหาประสิทธิภาพและประเมินคุณภาพ E1/E2 ของนวตักรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 3)การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ และ 4) การทดสอบค่าทีผลการวิจัย 1) การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์จากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมากกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน รวมกันท้ังหมด 263 คะแนน ประสิทธิ์ภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ท้ัง E1 และ E2 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.92/80.83 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างการทำแบบทดสอบก่อนเรียนกับแบบทดสอบหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษากลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงราย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนคะแนนเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนมีค่าเท่ากับ 16.17 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน คือ 5.48 และ 2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้นวัตกรรม พบว่า สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายมากกว่า เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 25 ความพึงพอใจของนักเรียนทั้งหมดที่มีต่อนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด (4.52)" en_US
dc.description.abstract The objectives of this research were: 1) to build the innovation and to search for the Multimedia Computer Instruction efficiency for the Thai pronouncing problems solving of the Akha primary level students in Chiang Rai Province, and 2) to study the students’ satisfaction towards the use of Multimedia Computer Instruction innovation to solve the Thai pronouncing problems according to the Linguistics-Based Innovation of the Akha primary-level students in Chiang Rai Province. The one sample group consisted of the sample used for the innovation experiment for the Thai pronouncing problems solving according to the Linguistics-Based Innovation were 48 Akha primary level 1-3 students in Chiang Rai Province, academic year 2016, Barn Therd Thai School, Tambol Therd Thai, Amphor Mae Fa Luang, Chiang Rai Province. The research tools were composed of 1) the tool used for analyzing and classifying the Thai pronouncing problems, 2) the tool used for building the Multimedia Computer Instruction innovation and evaluating its efficiency, and 3) the tool used for studying the students’ satisfaction towards the innovation. The statistics used for the data analysis were 1) the mean for the study of E1/E2 efficiency and the quality of the Multimedia Computer Instruction innovation and 2) the mean and the standard deviation for analyzing the students’ satisfaction format and 4) the t-test. The results were as followed: 1) The results of the evaluation of the Multimedia Computer Instruction innovation efficiency revealed that the posttest was higher than the pretest totally at 263 points. Both the E1and E2 efficiency of the Multimedia Computer Instruction innovation was 82.92/80.83 which was higher than the stipulated criteria at 80/80. It was also found that from the pretest and the posttest comparison, the posttest mean was 16.17 which was higher than the pretest mean of 5.48 significantly at 0.01. 2) For the study of the students’ satisfaction towards the use of Multimedia Computer Instruction Innovation, it was found that the male students answered the questionnaire more than the female students averagely for 25 percent and the mean of the students’ satisfaction towards the use of Multimedia Computer Instruction to solve the Thai pronouncing problems according to the Linguistics-Based Innovation was at the high level. (4.52). Keywords: Innovation, multimedia computer instruction, Solving Thai pronouncing problems, Akha Students en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject นวัตกรรมแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษากลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงราย en_US
dc.title นวัตกรรมแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษากลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่าในจังหวัดเชียงราย en_US
dc.title.alternative A Linguistics-Based Innovation for Solving Thai Pronouncing Problems of Akha Primary School Students in Chiang Rai Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics