ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานกับวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิจารณญาณของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน

Show simple item record

dc.contributor.author มยุรี, คำโสภา
dc.contributor.author พรทิพย์, อติชาติ
dc.contributor.author จีระพรรณ, สุขศรีงาม
dc.date.accessioned 2019-06-18T04:19:39Z
dc.date.available 2019-06-18T04:19:39Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16, ฉบับพิเศษ (ม.ค. - เม.ย. 2561) : หน้า 75 - 92 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4834
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการโต้แย้งหลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยส่วนรวมและจำ แนก ตามแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และรูปแบบการเรียน 2) ศึกษาและเปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานและแบบวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 โดยรวมและจำแนกตามแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และรูปแบบการเรียน 3) เปรียบเทียบความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิจารณญาณหลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกันและเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนต่างกันกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนพาณิชยกรรม ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการบัญชี จำนวน 80 คน จากจำนวน 2 กลุ่ม ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) นักเรียน 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองที่ 1 จำนวน 40 คน เรียนแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน และกลุ่มทดลองที่ 2 จำนวน 40 คน เรียนแบบผสมผสานตามวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ Paired t-test และ F-test (Two-way MANCOVA และ ANCOVA) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนโดยรวมและจำแนกตามแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์หลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานกบรูปแบบการเรียนแบบวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น มีการพัฒนาความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิจารณญาณโดยรวมและรายด้านเพิ่มขึ้น และมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของรูปแบบการเรียนเฉพาะการคิดวิจารณญาณรายด้าน คือด้านการระบุข้อตกลงเบื้องต้นโดยนักเรียนที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงที่เรียนโดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานมีความสามารถมากกว่านักเรียนกลุ่มอื่น และมีการคิดวิจารณญาณ โดยรวมและรายด้านมากกว่านักเรียนที่เรียนแบบผสมผสานตามวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นแต่นักเรียนที่มีการเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนต่างกันมีความสามารถในการโต้แย้งไม่แตกต่างกัน" en_US
dc.description.abstract This research aims to: 1) study the ability to argue after school, social issues related to the use of science by students 2) study and compare thinking. Social issues related to the use of science by using the integrated learning model. The baseline and the 7-cycle learning cycle of the first year students in the Certificate of Vocational Education, and classified by achievement motivation and learning styles. 3) Comparison of the ability to argue and critical thinking after problem learning. A study of the relationship between student achievements. Each class uses different learning styles. The sample is a commercial student. In the first year of the Diploma in Accounting, 80 students from the two groups were randomly assigned to the Cluster Random Sampling. Each group consisted of 40 students. The experimental group consisted of Paired t-test and F-test (Two-way MANCOVA and ANCOVA). The research findings found that the students as a whole and as classified according to achievement motivation who learned the socioscientific issues using the mixed methods based on the problem -based learning method and the 7E – learning cycle showed developments of argumentation and showed gains in critical thinking abilities in general and in each aspect from before learning. There were statistical interactions of achievement motivation with learning model only on critical thinking abilities as a whole and in the subscale of identifying the preliminary agreement, in which the students with high achievement motivation who learned the socioscientific issues using the mixed methods based on the problem -based learning method approach had more argumentation abilities and critical thinking abilities than other group students, and evidenced more analytical thinking abilities as a whole and in each aspect than the counterpart students. However, the students with different learning method did not show different argumentation abilities. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานกับวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิจารณญาณของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน en_US
dc.title การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานกับวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิจารณญาณของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน en_US
dc.title.alternative Comparisons of Effects of Learning Socioscientific Issues Using the Mixed Methods Based on the Problem-Based Learning Method and the 7E – Learning Cycle Approach on Argumentation and Critical Thinking of the First Year Vocational Certificate Students with Different Achievement Motivations en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics