ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานมหาบัณฑิตรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ประชัน, คะเนวัน
dc.date.accessioned 2019-06-18T03:26:45Z
dc.date.available 2019-06-18T03:26:45Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16, ฉบับพิเศษ (ม.ค. - เม.ย. 2561) : หน้า 247 - 265 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4788
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานมหาบัณฑิตรัฐ ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรใน หน่วยงานที่มหาบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร์ได้ปฏิบัติงานในจังหวัดบุรีรัมย์กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม ได้จากการกำหนดโควตา บุคลากรในหน่วยงานที่มหาบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร์ ปฏิบัติงานในจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 200 คน ใน 10 หน่วยงานองค์กนปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 6 แห่ง สถานีตำรวจจำนวน 2 แห่ง สำนักงานการไฟฟ้าจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 1 แห่ง และสำนักงานอัยการจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 1 แห่ง โดยแต่ละหน่วยงาน ใช้แบบสอบถามแห่งละ 20 ฉบับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เทคนิคการสัมภาษณ์โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง กำหนดโควตา จำนวน 10 คน จากหน่วยงานที่เก็บข้อมูลแห่งละ 1 คน การวิเคราะห์ แบบสอบถามได้ค่าความเชื่อมั่น 0.968 ด้วยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างใช้T-Test และ F-Test ส่วนข้อมูลที่ได้จากเทคนิค การสัมภาษณ์ใช้วิเคราะห์แบบอุปมาน ผลการวิจัยพบว่าทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ และด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบแยกตามเพศ และหน่วยงานที่สังกัด โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบระดับการศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 สำ หรับผลจากการสัมภาษณ์ พบว่าด้านวามรับผิดชอบ บุคลากรมีความรับผิดชอบต่อตนเองในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ต่อเพื่อนร่วมงาน และประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบค่อนข้างสูง สามารถปฏิบัติงานได้เต็มที่ และมีประสิทธิภาพ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ บุคลากรมีการปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงานได้อย่างดีทำให้เกิดความร่วมมือและเกิดการประสานงานที่ดีในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์อันดีและมี ความสามัคคีกันทำงาน มีความเต็มใจให้ความช่วยเหลือในงานอื่น ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน หรือตัดสินใจในการปฏิบัติงาน จะทำให้เกิดความรู้สึกที่ดีตั้งใจและทุ่มเทให้กับการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ มีการช่วยเหลือและร่วมมือกัน ทำงานด้วยความเต็มใจ และมีการทำงานเป็นทีม ส่วนข้อเสนอแนะ หน่วยราชการต้องตระหนกถึง คุณค่าของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานของตน โดยการสนับสนุนให้การศึกษาต่อและตรงกับสายงานที่ปฏิบัติ" en_US
dc.description.abstract This research aimed to 1) study work effectiveness of graduates in a Master of Public Administration, Buriram Rajabhat University; and 2) compare opinions of the personnel at the organizations in Buriram province where the graduates worked in. There were two sample groups: One was a group of answering a questionnaire and the other was a group of taking parts in interviews. The first group consisted of 200 people selected by setting a quota of personnel in ten organizations where the graduates worked in i.e.,six local administrative organizations, two police stations, one Buriram Provincial Electricity Authority, and one Office of Buriram Provincial Public Prosecution. Twenty questionnaires were used for each organization. The second group selected from purposive sampling by setting a quota of ten people; one from each organization. The reliability of the questionnaire was .0968. Frequency, percentage, mean, and standard deviation were applied to analyze the data. T-test and F-test were also used to make a comparison. The data obtained from the interview were analyzed by using analytic induction. The findings revealed that the overall opinions towards three aspects: responsibility, recognition and working achievement were at a high level. Having considered each aspect, it was also at a high level. However, having compared their opinions by genders and organizations, there were no significant differences in overall and in each aspect. When compared by the educational levels, their opinions were statistically significant different at .05 in overall and in each aspect. Moreover, the interview data showed that in the responsibility aspect, the personnel had high responsibility towards oneself fordoing assigned duties from commanders, and towards colleagues and people in working effectively. For the recognition aspect, there was an adjustment among colleagues leading to a good cooperation, collaboration, relationship and unity in working. For the working achievement aspect, the personnel who participated in planning or making a decision in working would have good feelings, attention and devotion to work with full cooperation. They would also willingly help each other in working and had a team-work. For recommendations, government sectors should realize the value of personnel working in each organization by supporting them to further their education in line with their fields and interest. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานมหาบัณฑิตรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานมหาบัณฑิตรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Work Effectiveness of Graduates in a Master of Public Administration under Buriram Rajabhat University en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics