ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการที่ผิวปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่ม ร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL

Show simple item record

dc.contributor.author สุบงกช, ข่าขันมะลี
dc.date.accessioned 2017-09-02T03:51:06Z
dc.date.available 2017-09-02T03:51:06Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/477
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแผนจัดการเรียนรู้ เรื่องการปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคSTAD ร่วมกับเทคนิค KWDLตามเกณฑ์80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนหลังเรียนโดยแผนและการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL 3) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 37 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยประกอบ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จำนวน 7 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการหาพื้นที่ผิวปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40ข้อ และ 3) แบบประเมิณความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน10 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีประสิทธิผล และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ การทดสอบค่า t-test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLพบว่ามีค่าเท่ากับ 83.12/81.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วนแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLเท่ากับ 0.5973 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแผนการจัดการ เรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแผนจัดการเรียนรู้ เรื่องการปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคSTAD ร่วมกับเทคนิค KWDLตามเกณฑ์80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนหลังเรียนโดยแผนและการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL 3) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 37 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยประกอบ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จำนวน 7 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการหาพื้นที่ผิวปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40ข้อ และ 3) แบบประเมิณความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน10 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีประสิทธิผล และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ การทดสอบค่า t-test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLพบว่ามีค่าเท่ากับ 83.12/81.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วนแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDLเท่ากับ 0.5973 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยแผนการจัดการ เรียนรู้ เรื่องการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ en_US
dc.title ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการที่ผิวปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่ม ร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL en_US
dc.title.alternative EFFECTS OF THE LESSON PLANS CALCULATION OF THE SURFACE AREA AND VOLUME USING GROUP COOPERATION ACTIVITIES STAD AND KWDL TECHNIQUE FOR MATTHAYOMSUKSA 3 STUDENTS en_US
dc.type Thesis en_US


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics