ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 1

Show simple item record

dc.contributor.author วิมลมาศ, การเพียร
dc.date.accessioned 2017-09-02T03:43:33Z
dc.date.available 2017-09-02T03:43:33Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/460
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำนกตามสถานภาพตำแหน่ง และขนาดของโรงเรียน ในกรอบความคิด 5 วิธี คือ วิธีเผชิญหน้า วิธีหลีกเลี่ยง วิธีบังคับ วิธีไกล่เกลี่ย วิธีประนีประนอม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักวานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำนวน 527 คน ซึงได้มาจากการสุ่มจากประชากรแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มี 2 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด โดยแบบสอบถามมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 18.945 ถึง 44.024และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .880 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้ค่าที (Independent Sample t-test ) และค่าเอฟ ( F-test )และการเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ( Scheffe Method )กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า 1.ผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นต่อการบริการความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายวิธี พบว่าวิธีประนีประนอมและวิธีหลีกเลี่ยงอยู่ในระดับมากส่วนวิธีอื่นๆอยู่ในระดับปานกลางวิธีที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ วิธีประนีประนอมรองลงมาคือวิธีหลีกเลียงและวิธีที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ วิธีบังคับ 2.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยรวมและรายวิธ๊ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาราววิธี พบว่า วิธีประนีประนอม มี ความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน วิธีบังคับแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนวิธีอื่นๆแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ของผู้บริหารและครูเรียงลำดับจากมากที่สุดในแต่ละวิธีดังนี้ ผู้บริหารและครูไม่ควรที่จะแสดงความรู้สึกในเรื่องของความขัดแย้งออกมาในที่เปิดเผย ควรจะหลีกเลี่ยงในสิ่งที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งเกิดขึ้น ไม่ควรแสดงความมีอำนาจในการบริหารความขัดแย้งมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ทุกหน่วยงานย่อยมี และควรจะมีการถนอมน้ำใจเพื่อนร่วมงาน en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำนกตามสถานภาพตำแหน่ง และขนาดของโรงเรียน ในกรอบความคิด 5 วิธี คือ วิธีเผชิญหน้า วิธีหลีกเลี่ยง วิธีบังคับ วิธีไกล่เกลี่ย วิธีประนีประนอม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักวานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำนวน 527 คน ซึงได้มาจากการสุ่มจากประชากรแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มี 2 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด โดยแบบสอบถามมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 18.945 ถึง 44.024และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .880 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้ค่าที (Independent Sample t-test ) และค่าเอฟ ( F-test )และการเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ( Scheffe Method )กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า 1.ผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นต่อการบริการความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายวิธี พบว่าวิธีประนีประนอมและวิธีหลีกเลี่ยงอยู่ในระดับมากส่วนวิธีอื่นๆอยู่ในระดับปานกลางวิธีที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ วิธีประนีประนอมรองลงมาคือวิธีหลีกเลียงและวิธีที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ วิธีบังคับ 2.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยรวมและรายวิธ๊ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาราววิธี พบว่า วิธีประนีประนอม มี ความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน วิธีบังคับแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนวิธีอื่นๆแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4.ข้อเสนอแนะอื่นๆเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ของผู้บริหารและครูเรียงลำดับจากมากที่สุดในแต่ละวิธีดังนี้ ผู้บริหารและครูไม่ควรที่จะแสดงความรู้สึกในเรื่องของความขัดแย้งออกมาในที่เปิดเผย ควรจะหลีกเลี่ยงในสิ่งที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งเกิดขึ้น ไม่ควรแสดงความมีอำนาจในการบริหารความขัดแย้งมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ทุกหน่วยงานย่อยมี และควรจะมีการถนอมน้ำใจเพื่อนร่วมงาน en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ศูนย์วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ en_US
dc.title การบริหารความขัดแย้งภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 en_US
dc.title.alternative ADMINISTRATION THE CONFLICT IN THE SCHOOL UNDER BURIRAM EDUCATIONAL PRIMARY SERVICE AREA OFFICE 1 en_US
dc.type Thesis en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics