ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การประเมินหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุรชัย ปิยานุกูล en_US
dc.contributor.advisor ปิยาภรณ์ ศิริภานุมาศ en_US
dc.contributor.author นริศรา, อุไรรักษ์
dc.date.accessioned 2018-09-27T07:06:07Z
dc.date.available 2018-09-27T07:06:07Z
dc.date.issued 2561-09-26
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4360
dc.description.abstract การประเมินหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผู้วิจัยตั้งวัตถุประสงค์ไว้ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของมหาบัณฑิตศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา อาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรที่มีต่อหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตศึกษา สาขาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรัง พ.ศ. 2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ในด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ มหาบัณฑิตศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา อาจารย์/ผู้เชี่ยวชาญหลักสูตร จำนวน101 คน และผู้บริหารสถานศึกษาผู้ประกอบการจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเพื่อสอบถามจำนวน 2 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย พบว่า 1.ความคิดเห็นของมหาบัณฑิตศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา อาจารย์และผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร หลักสูตรการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบริบทอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านปัจจัยนำเข้าและด้านกระบวนการอยู่ในระดับมาก 2.ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ประกอบการ ที่มีต่อมหาบัณฑิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ในด้านผลผลิต พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก en_US
dc.description.sponsorship The objectives of this study were 1) to study the opinions of gradate, students, graduates ,lecturers, and experts in curriculum towards the curriculum in the aspects of contexts, input factors, and processes and 2) to study the opinions of school administrators and graduates’ employers towards the graduates in the aspect of products. The sample is this study was 101 participants consisting of graduate students, lecturers, experts, graduates, and 5 school administrators and graduates’ employers. The instruments used in this research were two sets of the developed questionnaires. The data were analyzed by using percentage, mean, and standard deviation. The results of the study were as follows: 1.The opinions of graduate students, lecturers, experts in curriculum towards the curriculum in both overall and each aspect were at a high level, and input factors and process were at high level. 2. The opinions of school administrators and graduates’ employers towards graduate students of the curriculum (Revised 2012) in the aspect of products showed that the opinions were at high level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การประเมินหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title การประเมินหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Evaluation of Master of Education Program in Curriculum and Learning Management (Revised 2012) Buriram Rajabhat University en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics