ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

สภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor เผ่าพงษ์พัฒน์ บุญกะนันท์ en_US
dc.contributor.advisor ศรีเพ็ญ พลเดช en_US
dc.contributor.author พัชรี, โพธิ์แก้ว
dc.date.accessioned 2018-08-22T02:46:31Z
dc.date.available 2018-08-22T02:46:31Z
dc.date.issued 2561-08-21
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4256
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 278 คน กลุ่มตัวอย่างได้จาการสุ่มประชากร โดยำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 162 คน แล้วทำการสุ่มแบบขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่าและแบบปลายเปิด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9007 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยใช้การเปรียบเทียบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารสถานศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวิเคราะห์ รองลงมาคือ ด้านวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการสังเคราะห์ 2. ผู้บริหารสถานศึกษามีประสบการณ์ในการบริหารงานต่างกัน มีความเห็นกับสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการวิเคราะห์และด้านการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนแตกต่างกันเมื่อพิจารณาพบว่าทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ผู้บริหารสถานศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อการปฏิบัติให้ชัดเจน มีการสรุปข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนรอบด้าน สนับสนุนครูในการวิเคราะห์ผู้เรียน เพราะเป็นการเก็บข้อมูลนักเรียนเพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ จัดอบรมให้ครูเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีการวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา ให้ความสำคัญในการติดตามผลการแก้ปัญหา จัดหาผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย และให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองผู้เรียนร่วมวิเคราะห์ผู้เรียน ตามลำดับ en_US
dc.description.sponsorship The purposes of this research were to study and compare conditions and guidelines for teachers’ competency development of synthesis, analysis, and research for student development under Buriram Primary Educational Service Area Office 2. The samples were 162 school administrators which were randomly selected from the population of 278 school administrators, determined by the sample size table of Krejcie and Morgan and stratified random sampling. The instrument used to analyze the data was a questionnaire with three parts: checklist, 5 rating scale, and open-ended form. Its reliability was 0.9007. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The hypothesis was tested by t-test and one way ANOVA. The paired difference was tested by the method of Scheffe’. The results of the study were as follows: 1. The opinions of school administrators about conditions and guidelines for teachers’ competency development of synthesis’ analysis’ and research for student development were at high level in overall and each aspect, revealing that analysis was ranked first, followed by research for student development, and synthesis respectively. 2. The opinions of school administrators with different work experience about conditions and guides for teachers’ competency development of synthesis, analysis, and research for student development were overall significantly different at the .01 statistical levels. Considering each aspect, it was found that analysis and synthesis were significantly different at the .01 statistical levels, and research for student development was significantly different at the .01 statistical levels. 3. The opinions of school administrators working in different school sizes about conditions and guidelines for teachers’ competency development of synthesis, analysis, and research for student development were overall significantly different at the .01 statistical levels. Considering each aspect, it was found that all aspects were significantly different at the .01 statistical levels 4. The school administrators’ suggestions and opinions about conditions and guidelines for teachers’ competency development of synthesis, analysis, and research for student development were given most as follows: setting clear research planning for practice, summarizing well-rounded problem solving in classroom, supporting teachers for analyzing students because of the date collection of students to help solve problems in various aspects, training research for teachers to develop learners, analyzing new theoretical concepts to be used in problem solving, focusing on problem resolution, providing experts to give knowledge of research, and letting school board and students’ parents participate in analyzing students respectively. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 en_US
dc.title สภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 en_US
dc.title.alternative Conditions and Guidelines for Teachers’ Competency Development of Synthesis, Analysis, and Research for Student Development under Buriram Primary Educational service Area Office 2 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics