ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้ชุดกิจกรรม เรื่องเศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรพิมล พงศ์วุวรรณ en_US
dc.contributor.advisor สุรชัย ปิยานุกูล en_US
dc.contributor.advisor กระพัน ศรีงาน en_US
dc.contributor.advisor ประคอง กาญจนการุณ en_US
dc.contributor.author ศราวุธ, เปล่งชัย
dc.date.accessioned 2017-09-30T06:29:05Z
dc.date.available 2017-09-30T06:29:05Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2674
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1)พัฒนาชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3)ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของของชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4)ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านกระสัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 20 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ชุดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เศษส่วน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้ค่าสถิติ (Dependent Samples t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.ชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 79.36/79.17 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญสถิติ ที่ระดับ .05 3.ดัชนีประสิทธิผลของของชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.7113 หรือคิดเป็นร้อยละ 71.13 4.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมเรื่อง เศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผลการใช้ชุดกิจกรรม เรื่องเศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title ผลการใช้ชุดกิจกรรม เรื่องเศษส่วน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title.alternative EFFECT OF USING"FRACTION" LEARNING ACTIVITY PACKAGES WITH STAD COOPERATIVE LEARNING TECHNIQUE FOR GRADE 6 STUDENTS en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน en_US
dc.degree.level ปริญญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics