ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมเกียรติ ศรีปัดถา en_US
dc.contributor.advisor อนันต์ ลิขิตประเสริฐ en_US
dc.contributor.advisor สุริยา รักการศิลป์ en_US
dc.contributor.author ศรีไพร, ราชประโคน
dc.date.accessioned 2017-09-30T03:04:27Z
dc.date.available 2017-09-30T03:04:27Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2622
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความแข้มแงในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ และศึกษารูปแบบที่เหมาะสมของกระบวนการเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในพื้นที่หมู่บ้านที่มีภาษาพูดที่แตกต่างกันคือ ภาษาเขมร ภาษาลาว และภาษาไทยโคราช โดยแต่ละภาษมีขนาดของหมู่บ้านแยกเป็นขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมหมูบ้านทั้งหมด 9 หมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 9 คน คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านจำนวน 118 คนย และการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา ได้แก่ สมาชิกที่กู้เงินและไม่ได้กู้จากกองทุนกลุ่มละ 20 คน จาก 9 หมู่บ้าน จำนวน 180 คน รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 307 คน เครื่องมือที่ใงช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ มีความเชื่อมั่น .9542 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ร้อยละ ค่าเฉี่ย ค่าเบี่ยเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เกี่ยวขช้อง เมตริกความสัมพันธ์ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น (Hierarchical Regression Analysis) และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้าน คือ กระบวนการมีส่วนร่วม การได้มาซึ่งคณะกรรมการ การได้มาซึ่งระเบียมข้อบังคับกองทุน อยู่ในระดับมาก 2. ขั้นตอนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ และเทคนิคหรือรูปแบบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านอยู่ในระดับปานกลาง 3.รูปแบบที่เหมาะสมของกระบวนการเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนหมู่บ้าน คือการจัดเวทีประชาคม และความรู้จาสกกองทุนเดิน อยู่ในระดับมาก 4. ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขโดยสรุปได้แก่ รัฐบาลควรเปรับเปลี่ยนบทบาทและวิธีการให้การสนับสนุนจากการสั่งการมาเพื่อเป็นคู่คิด ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมทุนขั้นตอนตั้งแต่ก่อนดำเนินการ และหลังดำเนินการ โครงการกองทุนหมู่บ้านเป็นโครงการที่ดีหากได้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และควรส่งเสรีมความเข้มแข็งด้านขั้นตอนในการจัดฃกระบวนการเรียนรู้ ด้านรูปแบบที่ยังเป็นจุดอ่อนเช่น รูปแบบการศึกษาจากเอกสาร รูปแบบการศึกษษดูงาน และรูปแบบการอบรมแบบมีส่วนร่วม en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งในการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Learning Processes Affecting Empowerment of Villagefund Management in Buriram Province en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics