ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

สภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.author เพียงตะวัน, ฤทธิรณ
dc.date.accessioned 2017-09-25T08:13:01Z
dc.date.available 2017-09-25T08:13:01Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.citation การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พ.ศ. 2558 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2348
dc.description บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่ งหมาย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูวิชาการ กลุ่มตัวอย ่างเป็นผู้บริหารและครูวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จำนวน 288 คน ซึ่งได้มาโดยกำหนดขนาดของกลุ่ มตัวอย ่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน แล์วทำการสุ่ ม กลุ่ มตัวอย ่างตามระดับชั้นอย่ างมีสัดส่ วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มี 3 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส ่วนประมาณค่ า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด มีค ่าความเชื่อมั่นเท ่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่ าร้อยละ ค่ าเฉลี่ย ค ่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่ าที การทดสอบ ค าเอฟ และการทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูวิชาการเกี่ยวกับสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 โดยรวมและรายด้าน อยู่ ในระดับมาก โดยด้านที่มี ค ่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รองลงมาคือ ด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน ส ่วนด้านที่มีค ่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาแหล่ งการเรียนรู้ 2. ผู้บริหารและครูวิชาการมีความคิดเห็นต ่อสภาพการบริหารงานวิชาการ โดยรวมไม่ แตกต ่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ า ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่ างกันอย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผู้บริหารและครูวิชาการที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต ่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพ การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 แตกต่ างกัน อย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ า ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอน ผลการเรียนไม ่แตกต ่างกัน ส วนด้านอื่น ๆ แตกต ่างกันอย ่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครูวิชาการเกี่ยวกับสภาพการบริหารงานวิชาการ ในโรงเรียน ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ควรพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับสภาพบริบทของชุมชนโดยประสาน ความร ่วมมือกับชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น รองลงมาคือ ควรทำความเข้าใจระเบียบการวัดผลและประเมินผล ที่ถูกต้องและประเมินตามสภาพจริง และควรพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ทั้งภายในและนอกสถานศึกษาอย ่างต่ อเนื่อง มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และใช้แหล่ งเรียนรู้ร ่วมกันระหว่ างโรงเรียนกับชุมชน en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สภาพ en_US
dc.subject การบริหารงานวิชาการ en_US
dc.subject โรงเรียน en_US
dc.subject สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 en_US
dc.subject Condition en_US
dc.subject academic affairs administration en_US
dc.subject school en_US
dc.subject Surin Primary Educational Service Area Office 2 en_US
dc.title สภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 en_US
dc.title.alternative Conditinns of Academic Adminstration in the Schools under Surin Primary Educational Sevice Area Office II en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics