ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้พ้นโทษ กรณีเรือนจำจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สงบ บุญคล้อย en_US
dc.contributor.advisor อนันต์ ลิขิตประเสริฐ en_US
dc.contributor.advisor ลัดดาวัลย์ วิเชียรศิลป์ en_US
dc.contributor.author พรรษา, สืบนาค
dc.date.accessioned 2017-09-16T06:57:50Z
dc.date.available 2017-09-16T06:57:50Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1956
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร ประเภทโทษ กำหนดโทษระยะเวลาการต้องโทษ และการได้รับการศึกษาอบรมขณะต้องโทษของผู้พ้นโทษ กับคุณภาพชีวิตด้านสังคม เศรษฐกิจ และจิตใจ 2.) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิต ด้านสังคม เศรษฐกิจ และจิตใจ ภายหลังพ้นโทษของผู้พ้นโทษจากเรือนจำจังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างปี 2540 – 2544 จำนวน 1,561 คน กลุ่มตัวอย่างซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 156 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นมาเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t – test (Independent Sample) หาค่าความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’ s Product Correlation)ผลการวิจัยพบว่า 1) ความแตกต่างระหว่างภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่างระหว่างต้องโทษกับภายหลังพ้นโทษ กับคุณภาพชีวิตด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และจิตใจ พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน 2)สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง คุณภาพชีวิตทั้ง 3 ด้าน มีความสัมพันธ์กันในทางบวกที่ระดับนัยสำคัญที่ .01 en_US
dc.description.sponsorship The objectives of this study were : 1) to investigate the relations between the population characteristics, kinds of penalties, duration of imprisonment, and the amount of training received while serving the imprisonment of the released persons with the social, economic, and psychological life qualities ; 2) to study the relationships between the social economic, and psychological life qualities of released persons after releasing from imprisonment at Buriram Prison during 2540 – 2544 B.E. for the amount of 561 persons. The sample were 156 released persons selected by means of cluster random sampling techniques. The instruments used for collecting the data were the locally – made questionnaires. The statistics used in data analysis were the Mean, Percentage, and Standard Deviation. The hypotheses were tested by means of the t – test (Independent Sample). The Coefficient Correlation Value were calculated through the Pearson’ s Product Correlation method. The results of the study were: 1) the background of the the sample between while and after being in the imprisonment with the social, economic, and psychological life qualities were not different ; and 2) the Coefficient Correlations among the 3 aspects of life qualities after they have been released were correlated positively at the significant level of .01. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้พ้นโทษ กรณีเรือนจำจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative A study of the life qualities of released persons in the case of Buriram Prison en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics