ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การสรางชุดตรวจสอบปริมาณฟอรมาลินผานโทรศัพทมือถือในตัวอยางอาหาร

Show simple item record

dc.contributor.author นรินทร, นามเมือง
dc.contributor.author อําภา, แกวปนตา
dc.contributor.author พูนฉวี, สมบัติศิริ
dc.contributor.author ณรงค, คชภักดี
dc.date.accessioned 2017-09-16T03:51:35Z
dc.date.available 2017-09-16T03:51:35Z
dc.date.issued 2016-11-24
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1549
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ไดพัฒนาวิธีวิเคราะหหาปริมาณสารฟอรมาลิน ในตัวอยางอาหารที่ปนเปอนอยาง งาย โดยการใชสารละลายผสมระหวาง 4-amino-3-hydrazine-5-mercapto-1,2,4-triazole; AHMT และโซเดียมไฮดรอกไซดเปนรีเอเจนต แลวเกิดเปนสารประกอบสีมวงของสารละลาย AHMT และ โซเดียมไฮดรอกไซด และวัดคาสีของสารละลายผานโปรแกรมประยุกตบนโทรศัพทมือถือ เพื่อการ ประมวลผลเชิงสัญญาณ งานวิจัยนี้ไดทําการสรางกลองวัดสัญญาณสีแบบทึบแสงสีขาว เพื่อควบคุมแสง รบกวน สําหรับวัดคาการสะทอนสัญญาณสีแดง เขียว และน้ําเงิน บนโทรศัพทมือถือ ในการทดลองได ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการวิเคราะหตางๆ รวมทั้งการหาสัญญาณสีแดง เขียว และน้ําเงิน ที่เดนชัด พบวาความเขมขนที่เหมาะสมของสารละลาย AHMT และโซเดียมไฮดรอกไซด คือ 0.005 : 0.02 น้ําหนัก ตอปริมาตร เวลาที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาของสารละลายมาตรฐาน ฟอรมาลินกับรีเอเจนต คือ 30 นาที ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส สวนระยะทางแสงผานสารสําหรับการวัดคาสี 0.75 เซนติเมตร (ปริมาตร 1.5 มิลลิลิตร) ภายใตสภาวะนี้สามารถวิเคราะหไดที่ชวง ความเขมขน 0.5-3.0 ppm ซึ่งคา สัญญาณสีที่เหมาะสมคือ คาสัญญาณ สีเขียว ซึ่งมีชวงความเปนเสนตรง R2=0.9967 สมการเสนตรง y=0.0637X + 1.7818 ขีดจํากัดการตรวจวัด คือรอยละ 0.4535 น้ําหนักตอปริมาตร และขีดจํากัดเชิง ปริมาณ คือรอยละ 0.0460 น้ําหนักตอปริมาตร การทดสอบความใชไดของวิธี (ความถูกตองแมนยําชวง การวิเคราะห) พบวาคา %Recovery อยูในชวง 80-120% และคาความแมนยําที่ ≤10%RSD และจาก การทดสอบประสิทธิภาพของวิธีกับตัวอยางจริง โดยเปรียบเทียบกับเครื่อง ยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโต มิเตอร พบวาใหคา %Recovery อยูในชวง 80-120% ซึ่งถือวาอยูในชวงที่ยอมรับได en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ชุดตรวจสอบ ฟอรมาลิน en_US
dc.subject โทรศัพทมือถือ en_US
dc.subject การประมวลผลเชิงรูปภาพ en_US
dc.title การสรางชุดตรวจสอบปริมาณฟอรมาลินผานโทรศัพทมือถือในตัวอยางอาหาร en_US
dc.title.alternative Invention of Formalin Test Kit via Smart Phone in Food Sample en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics