ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านและการเขียนคำพื้นฐานสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAP สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Show simple item record

dc.contributor.author จินตนา, สุวรรณทา
dc.date.accessioned 2017-09-06T04:31:28Z
dc.date.available 2017-09-06T04:31:28Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1118
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3ที่เรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนบ้านหนองเรือ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอยด้วย 1) แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 จำนวน 6 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) แบบทดสอบวัดผลสำฤทธิ์ทางการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.20 – 0.44 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9616 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า E1/E2 และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบ t-test แบบ Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.78/84.44 ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3. ความพึงพอใจของนักเรียนแบบฝึกหัดทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด The purposes of this research were : 1) to develop the efficiency of the reading and writing skill base words using cooperative learning activities for prathomsuksa 3 students to meet the criteria set at 80/80 ; 2) to compare the learning achievement of students between before and after learning through the reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students; and 3) to explore the satisfaction of the students to words the technique reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students. The samples were 15 students of Prathomsuksa 3 of Bannongrue School, banmaichaiyapot District, buriram Province under Buriram Educational Service Area Office 4, in the second semester of academic year 2011 : The research instruments were : 1) 6 reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students; 3) per-test and post-test of the reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students which comprised of 30 items with 4 multiple ;and 4) a 5-rating scale questionnaire asking for levels of the students’ satisfaction towards the reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and E1/E2. The hypothesis was tested by using dependent samples t-test. The results of the study were as follows: 1. The reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students had an efficiency of 81. 78/84.44 which was higher than the criteria set at 80/80. 2. The learning achievement of the students after using the reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students was higher than that before using those skills with statistically significant difference at the level of .05 3. The satisfaction of the students towards the learning through the reading and writing skill base words using cooperative learning activities STAD technique for Prathomsuksa 3 students as a whole was at the highest level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title การพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านและการเขียนคำพื้นฐานสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAP สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 en_US
dc.title.alternative DEVELOPMENT OF READING AND WRITING SKILL BASE WORDS USING LEARNING COOPERATIVE ACTIVITIES STAD TECHNIQUE FOR PRATHOMSUKSA 3 STUDENTS en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ปริญญาโท


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics