ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาออนโทโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author บัตรศิริมงคล, พิริยาภรณ์
dc.contributor.author โล้เจริญรัตน์, จุฑาทิพย์
dc.contributor.author เมฆหมอก, ภาคภูมิ
dc.contributor.author ยาทองไชย, วิไลรัตน์
dc.contributor.author ยาทองไชย, ชูศักดิ์
dc.date.accessioned 2023-09-14T09:17:37Z
dc.date.available 2023-09-14T09:17:37Z
dc.date.issued 2566-02-15
dc.identifier.citation The 6th National and International Research Conference 2023: NIRC VI 2023 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8676
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาออนโทโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ที่สนับสนุนการสืบค้นข้อมูลเชิงความหมายของนักท่องเที่ยว มีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1) รวบรวมองค์ความรู้ 2) พัฒนาออนโทโลยี และ3) ประเมินออนโทโลยี โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือ โปรแกรมโพรทีเจ และภาษาสปาร์คเกิ้ล ผลการวิจัยพบว่า ออนโทโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วยคลาสหลัก 7 คลาส คือ คลาสสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คลาสกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม คลาสงานประเพณีและวัฒนธรรม คลาสวัน-เวลาทำการ คลาสตำแหน่งที่ตั้ง คลาสส่วนประกอบ และคลาสชื่อท้องถิ่น โดยมีการประเมิน 2 ส่วนคือ การประเมินโครงสร้างและความสัมพันธ์ภายในออนโทโลยีโดยผู้เชี่ยวชาญที่ประยุกต์ใช้วิธีจีคิวเอ็มในการจำแนกคุณลักษณะการประเมินออนโทโลยีออกเป็น 5 คุณลักษณะ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นระดับมากที่สุด 4 คุณลักษณะคือ ความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ ความชัดเจน และความกระชับ ส่วนความสอดคล้องกัน มีความคิดเห็นในระดับมาก ส่วนการประเมินการสืบค้นเชิงความหมายมีค่าความแม่นยำ 94% ค่าความระลึก 88.67% และค่าความถ่วงดุล 91.26% en_US
dc.description.abstract This research aims to develop an ontology of cultural tourism in Buriram province to support tourists in semantic search. The research methodology is divided into three stages: 1) knowledge gathering, 2) ontology development, and 3) ontology evaluation. The used tool is the Protégé program and the SPARQL language. The results showed that the ontology of cultural tourism in Buriram province consists of 7 major classes: cultural attraction, cultural activity, tradition and culture, business day, location, and local name. There were two parts of evaluation: 1) evaluation of structure and relationships within the ontology by the experts. The evaluation has applied the GQM methodology to classify the ontology evaluation features into five features. The results found that the four features: accuracy, completeness, clarity, and conciseness were at the highest level of opinion, and 2) evaluation of consistency, there was at a high level. The evaluation of semantic search had Precision 94%, Recall 88.67% and F-measure 91.26% en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ออนโทโลยี en_US
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม en_US
dc.subject จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การสืบค้นเชิงความหมาย en_US
dc.subject Ontology en_US
dc.subject Cultural Tourism en_US
dc.subject Buriram Province en_US
dc.subject Semantic Search en_US
dc.title การพัฒนาออนโทโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative The Development of Buriram Cultural Tourism Ontology en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor chusak.yt@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor wilairat.yt@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor Piriyaporn.But@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor Juthathip.Loj@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor pakpoom.mek@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics