ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาโปรแกรมออกแบบลายผ้าเพื่อการสร้างสรรค์และสืบสานภูมิปัญญาผ้าไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ยาทองไชย, ชูศักดิ์
dc.contributor.author ยาทองไชย, วิไลรัตน์
dc.date.accessioned 2023-03-18T09:41:38Z
dc.date.available 2023-03-18T09:41:38Z
dc.date.issued 2565-12
dc.identifier.citation วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (2565) en_US
dc.identifier.issn 19069790
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8550
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาการใช้งานโปรแกรมในการออกแบบลายผ้า ที่ พัฒนาขึ้นตามวงจรการพัฒนาระบบ บนแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วย Microsoft Visual Studio C#.NET ที่มีเครื่องมือช่วยในการออกแบบลายผ้าด้วยวิธีการสร้างลายด้วยมือเปล่า และการ สืบค้นจากฐานข้อมูล ผลการวิจัยพบว่าโปรแกรมมีการทํางานหลัก 2 ส่วนคือ ส่วนสร้างและแก้ไขลาย ผ้า ที่มีฟังก์ชันการทํางานในการสร้าง แก้ไข คัดลอกลาย การนํารูปภาพรวมถึงลายเดิมมาสร้างเป็น ลายใหม่และส่วนแสดงภาพจําลองของผ้า ที่แสดงภาพจําลองผ้าตามลายที่ออกแบบ สีเส้นยืน จํานวน เส้นพุ่งที่ต้องการ และมีเครื่องมือพิมพ์ลายสําหรับใช้ประกอบการมัดหมี่ ย้อมสี และทอผ้าออกทาง เครื่องพิมพ์จากการทดสอบการใช้โปรแกรมกับกลุ่มทอผ้าจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า 1) ผลการออกแบบ ลาย สมาชิกสามารถสร้างสรรค์ลวดลายใหม่ได้อย่างไม่จํากัด และสามารถนําลายผ้าเดิมของชุมชนมา ทําการแกะลายและบันทึกไว้ในรูปไฟล์ดิจิทัลได้ มีผลการประเมินคุณภาพการออกแบบลายโดย ผู้เชี่ยวชาญ ในความถูกต้องของจํานวนลํา ความถูกต้องของตําแหน่งลาย ขนาดของลาย และลักษณะ ของโครงสร้าง/รูปทรงของลายมีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนสีสันของลายเป็นไปตามที่ออกแบบ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก และ 2) ผู้ใช้มีความพึงพอใจในการใช้งานโปรแกรมอยู่ในระดับมาก ที่สุด ทั้งในส่วนแสดงผลและพิมพ์ลายผ้า ส่วนออกแบบลายผ้า และภาพรวมการออกแบบโปรแกรม en_US
dc.description.abstract This research aimed to develop and study the Textile Design program to design fabric patterns. The program has been developed according to the system development life cycle based on the concept of object–oriented programming using the Microsoft visual studio C#.NET. It has the tools to design fabric patterns with freehand editing and findings in databases. The results showed that the program had two major parts: 1) creating and editing pattern part, it had the functions to create, edit, copy, and import images, including the original patterns to create a new one; and 2) the part of fabric simulation image preview, it displayed fabric simulation images according to the designed patterns, warp colors, and number of wefts that were required. It also included a tool to print the patterns for tying, dyeing, and weaving processes. From testing the use of the program by the weaving groups in Buriram, the findings were as follows: 1) the pattern design results: the members could create an unlimited number of new designs. They could also copy the original patterns of their community and save them as digital files. The quality assessment results of the pattern designs by the experts in the accuracies of thread count, pattern position, size of the patterns, and characteristics of the pattern structures/shapes were at the highest level. The results of similarity evaluation between the fabric pattern colors and the designed colors were at a high level; and 2) the users were satisfied with the use of the program at the highest level in the pattern display and print part, the pattern design part, and the overall program design. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject โปรแกรมออกแบบลายผ้า การสร้างสรรค์ลายผ้าไทย การสืบสานลายผ้าไทย ภูมิปัญญาผ้าไทย en_US
dc.subject Fabric pattern design program, Creation of Thai fabric pattern, The continuation of Thai fabric pattern, Thai fabric wisdom en_US
dc.title การพัฒนาโปรแกรมออกแบบลายผ้าเพื่อการสร้างสรรค์และสืบสานภูมิปัญญาผ้าไทย en_US
dc.title.alternative Development of Textile Design Program for Creating and Continuation of Thai Fabric Wisdom en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor chusak.yt@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor wilairat.yt@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics