ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองและจัดสวัสดิภาพสัตว์จากการนามาแสดง

Show simple item record

dc.contributor.author กัลยาณี, ธีระวงศ์ภิญโญ
dc.contributor.author วราภรณ์, วนาพิทักษ์
dc.date.accessioned 2020-09-02T02:56:36Z
dc.date.available 2020-09-02T02:56:36Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561) : หน้า 79-97 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6910
dc.description.abstract การศึกษามาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองและจัดสวัสดิภาพสัตว์จากการนา มาแสดง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิดสถานภาพสัตว์ บทบาทรัฐในการควบคุมกา กับดูแลการ น าสัตว์มาแสดง วิเคราะห์เปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสัตว์ โดยเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาข้อมูลเอกสาร วิเคราะห์เปรียบเทียบ สนทนากลุ่มและการ สัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและ การจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 แต่พระราชบัญญัติดังกล่าวไม่ได้ให้อำนาจรัฐในการเข้าไปควบคุม กา กับดูแลการนา สัตว์มาจัดแสดงด้วยระบบอนุญาต ดังเช่นกฎหมายของต่างประเทศ ทา ให้ผู้จัด แสดงสัตว์บางรายไม่จัดสวัสดิภาพให้เหมาะสมกับสัตว์จนส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพและสุขภาพ ของสัตว์ ทั้งสัตว์แสดงเหล่านั้นอาจเป็นพาหะนา โรคมายังสัตว์อื่นและผู้ชม ดังนั้น เพื่อป้องกันสวัสดิ ภาพของสัตว์และสุขภาพของมนุษย์ การวิจัยนี้เสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมในพระราชบัญญัติป้องกันการ ทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 โดยให้อำนาจรัฐในควบคุมดูแลและออก ใบอนุญาตให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจัดสวัสดิภาพสัตว์จากการนา มาแสดง en_US
dc.description.abstract The objectives of this qualitative research entitled “Legal Measures for Animal Protection and Animal Welfare from Public Display or Exhibitions” were to examine the meanings and concepts of animal status, the government’s roles in supervisory control towards displaying animals, and to analyze and compare legal measures in animal protection. The data were collected via documentation study, comparison study, focus group, and in-depth interviews. The study results showed that even though there was B.C. 2557 Cruelty Prevention and Welfare of Animal Act, the government was not given the authority by the Act in performing the supervisory control towards displaying animals via the permission system found in many foreign countries’ laws. Therefore, some of animal public display/exhibition organizers did not provide proper welfare to their animals. This resulted in the welfare and the health of all animals that might carry diseases to other animals or audience. Hence, for protecting the well-being of the animals and the health of human beings, this study suggested to amend the Act by giving the government the authority in supervisory control as well as in issuing the animal exhibition license for the organizers who are recommended to adhere to the animal welfare regulations upon displaying animals for exhibitions. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองและจัดสวัสดิภาพสัตว์จากการนามาแสดง en_US
dc.title มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองและจัดสวัสดิภาพสัตว์จากการนามาแสดง en_US
dc.title.alternative Legal Measures for Animal Protection and Animal Welfare from Public Display or Exhibitions en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics