ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Show simple item record

dc.contributor.author อรนุช, ธนภัทรถิรโชต
dc.contributor.author ประหยัด, ภูมิโคกรักษ์
dc.contributor.author สมเกียรติ, ทานอก
dc.date.accessioned 2020-09-02T02:16:11Z
dc.date.available 2020-09-02T02:16:11Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร ,ปีที่ 16 ฉบับ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561 ) : หน้า411-432 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6887
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีขั้นตอน ในการวิจัย 4ขั้นตอน คือ(1)ศึกษาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎี วิเคราะห์ข้อมูลโดย การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(2)ศึกษาความต้องการ จำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์โดยวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างสภาพความต้องการกับสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยการจัดลำดับความสำคัญ ของความต้องการจำเป็น ที่มีค่าPNI ตั้งแต่0.20ขึ้นไป (3) สร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group discussion) และยืนยันรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ (4) ประเมิน ความเหมาะสมรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของ รูปแบบโดยศึกษานิเทศก์ผลการวิจัยยังพบว่า สมรรถนะของศึกษานิเทศก์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สำคัญมี 10 สมรรถนะคือการมุ่งผลสัมฤทธ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องการวิเคราะห์และการสังเคราะห์การมีวิสัยทัศน์การมีภาวะผู้นำทางวิชาการการสื่อสารและ จูงใจการประกันคุณภาพการศึกษาการทำงานเป็นทีม และรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ ศึกษานิเทศก์คือ“10’s competency of supervisor model” ประกอบด้วย 5องค์ประกอบ คือ 1) แนวคิดและหลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีการดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะ 3วิธีการ คือ การเรียนรู้จากสถานที่จริงการเรียนรู้จากบุคคลอื่น และการเรียนรู้จากระบบหน่วยงาน 4) การ ประเมินรูปแบบในด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ และ 5) เงื่อนไข ความสา เร็จของการใช้รูปแบบที่สำคัญ คือศึกษานิเทศก์ประเมินสมรรถนะและวิธีพัฒนาที่กำหนดไว้ ในรูปแบบอย่างจริงใจและนำไปใช้ในการพัฒนาตนเองตามความเป็นจริง ตลอดจนหน่วยงาน เกี่ยวข้องต้องนำไปกำหนดนโยบายและพัฒนาศึกษานิเทศก์ en_US
dc.description.abstract The main purpose of this research was to develop a model on competency development of supervisors under the jurisdiction of primary education in the northeastern region. The research method was divided into four steps to study: (1) the supervisors’ competency by means of document analysis and a semi-structured interview. The participants for interview consisted of administrators and stakeholders who worked in primary education schools, (2) the need assessment; priority need index of supervisors’ competency, by identifying the difference between the current state of demand and the current state, using prioritizing the need of a PIN value with 0.20 or higher, (3) a model construction on competency development of supervisors by means of group discussion and confirmation by qualified panelists, and (4) the suitability evaluation of a model by experts, evaluate the feasibility and utility of the model by supervisors. The results of the research revealed ten competencies of supervisors, namely achievement motivation, information communication technology, educational development research , continuous development, analysis and synthesis, vision, academic leadership, communication and motivation, quality assurance in education, teamwork, and the model which was called “10’s Competency of supervisor Model” consisted of five components : 1) concepts and principle, 2) objectives, 3) procedures included three development approaches, namely real life lessons learning, other people learning and personnel programed learning, 4) the model evaluation based on the assessment of the model suitability, feasibility, and utility, and 5) conditions of success depended on the fact that the supervisor should assess and use the approaches suggested in the model, and the related organizations should adopt this model as policy and use it as means for supervisor development. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ en_US
dc.title รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ en_US
dc.title.alternative The Competency Development Model of Supervisors under the Jurisdiction of Primary Education in the Northeastern Region en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics