ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

บทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 7

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรทิพา ดำเนิน en_US
dc.contributor.advisor นวมินทร์ ประชานันท์ en_US
dc.contributor.author สุวิมล, สิทธิมงคล
dc.date.accessioned 2020-08-18T03:42:54Z
dc.date.available 2020-08-18T03:42:54Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6796
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 กลุ่มตัวอย่างได้จากการกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 155 คน และครูผู้สอนจำนวน 327 คนรวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 482 คน จากนั้นทำการสุ่มตามระดับชั้นอย่างมีสัดส่วนและเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0. 98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานได้แก่ การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างในแต่ละด้านจะทำการเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีการของเชฟเฟ่ กำหนดค่าความมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านการมีความรับผิดชอบต่อครูผู้ทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านการให้การยอมรับนับถือครูผู้ทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านการให้ความสำคัญกับการทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งการงานและด้านการส่งเสริมให้เกิดความสำเร็จของงานวิจัยในชั้นเรียน ตามลำดับ 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านการส่งเสริมให้เกิดความสำเร็จของงานวิจัยในชั้นเรียน ด้านการให้ความสำคัญกับการทำวิจัยในชั้นเรียนและด้านการมีความรับผิดชอบต่อครูผู้ทำวิจัยในชั้นเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตามลำดับ ด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการให้การยอมรับนับถือครูผู้ทำวิจัยในชั้นเรียนไม่แตกต่างกัน 3. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมไม่แตกต่างกัน en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were to study and compare the roles in classroom action research promotion of school administrators as perceived by school directors and teachers under Nakhonratchasima Primary Educational Service Area Office 7. The samples were 155 school administrators, and 327 teachers in a total of 482, selected by using the Table of Krejcie & Morgan and Proportional Stratified Random Sampling respectively. The instrument used in this study was a 5 rating scale questionnaire with its reliability at 0. 98. The statistics used for analyzing the collected data were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The hypotheses were tested by t-test and one-way ANOVA, and Scheffe method was used to compare each pair of the aspects. The statistically significantly difference was set at the level of. 05. The findings were as follows: 1. The opinions of the school administrators and teachers towards the roles in classroom action research promotion of school administrators both as a whole and at each aspect were at high levels. When considering each aspect, the mean values have been listed in order as follows: responsibility for teacher who does classroom action research, recognition for teacher who does classroom action research, emphasizing the importance of classroom action research promotion of career advancement and supporting the success of classroom action research. 2. The opinions of the school administrators and teachers towards the roles in classroom action research promotion of school administrators were statistically significantly different at the. 01 level in overall. When considering each aspect, it was found that: the aspect of supporting the success of classroom action research, emphasizing the importance of classroom action research and responsibility for teacher who does classroom action research were statistically significantly different at the. 01 level. However, the aspect of promotion of career advancement was statistically significantly different at the. 05 level and the aspect of recognition for teacher who does classroom action research was not significantly different. 3. The comparison of the opinions of school administrators and teachers towards the roles in classroom action research promotion of school administrators, classified by school size as a whole was not significantly different en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject บทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 7 en_US
dc.title บทบาทการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 7 en_US
dc.title.alternative The Roles in Classroom Action Research Promotion of School Administrators in Schools under Nakhonratchasima Primary Educational Service Area Office 7 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics