ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ศึกษาการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดร. โกวิท วัชรินทรางกูร, en_US
dc.contributor.advisor ดร. สิทธิชัย ดีล้น en_US
dc.contributor.author ณัฐริณีย์ คอยศาลา, คอยศาลา
dc.date.accessioned 2020-08-11T04:27:50Z
dc.date.available 2020-08-11T04:27:50Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6750
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้มาจากการสุ่มตามระดับชั้นอย่างมีสัดส่วน เป็นครู จำนวน 345คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบรายคู่ ตามวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับศึกษาการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากเช่นกัน 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับศึกษาการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานโดยรวม และรายด้านไม่แตกต่างกันจำแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้านการจัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอน แก่ครู และด้านการส่งเสริมการพัฒนาครู ไม่แตกต่างกัน en_US
dc.description.abstract This research aimed to study and compare the administration of learning process development of school administrators under Secondary Educational Service Area Office 32, classified by workexperiences and school sizes. The sample used in this research was 345 teachers,selected by using the table of Krejcie& Morgan, proportional stratified randomsampling and simple random sampling. The research instrument used was a-3 partquestionaire, including checklist, 5-rating scale, and open-ended form. The statisticsused were frequency, percentage, mean and standard deviation. The hypothesis wastested by using t-test, one way analysis of variance and pair comparisions by Scheffe'test.The findings were as follows :1) The Opinions about educational administration, learning process development of school administrators already mentioned both in overall and eachaspect were at a high level; 2) The opinions about the study of administration, development of learning process of school administrators in terms of work experiences werenot different, but classified by school sizes in overall were different at a significantlevel of .05. When considering each aspect, it was found thatpromoting teachers to create lesson plans, to organize learning process, to supervise teachers’teaching and to developteachers, theywere not different. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ศึกษาการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 en_US
dc.title ศึกษาการบริหารงานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 en_US
dc.title.alternative A STUDY OF ADMINISTRATION IN LEARNING PROCESS DEVELOPMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE OFFICE OF SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA 32 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics