ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.author วัชรินทร์, จำปาทิพย์
dc.contributor.author สมาน, อัศวภูมิ
dc.contributor.author จิณณวัตร, ปะโคทัง
dc.date.accessioned 2020-07-14T03:25:59Z
dc.date.available 2020-07-14T03:25:59Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 9 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2557); หน้า 163 - 169 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6569
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอยุทธศาสตร์ สู่ความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำเนินการวิจัยมี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างมี 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้แทนครูผู้สอน จำนวน 538 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และ 3)โรงเรียนแกนนำ จำนวน 3 โรงเรียน เครื่องมือที่ใข้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามความ คิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน 1 ฉบับ และแบบสัมภาษณ์ 1 ฉบับ ข้อมูลเซิงปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลเซิงคุณภาพใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 2 ร่างและประเมิน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ประเมินความสอดคล้อง ผู้ทรง คุณวุฒิ จำนวน 13 คน ประเมินความเหมาะสมของคู่มือ เครื่องมือที่ใข้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมินความ เหมาะสม 1 ฉบับ และแบบประเมินความเหมาะสมของ คู่มือ 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 3 การตรวจสอบและประเมิน ผู้ ให้ข้อมูลหลักได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมินความเหมาะสมและความ เป็นไปได้ของยุทธศาสตร์ 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 4 ศึกษาข้อ เสนอแนะการนำยุทธศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใข้รวบรวม ข้อมูลเป็นแบบบันทึกผลการประชุมสนทนากลุ่มอิงผู้ทรง คุณวุฒิ 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านปัญหา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับน้อย อย่างไร ก็ตาม พบว่า มีปัญหาด้านการสอน และด้านการบริหาร จัดการ มืค่าเฉลี่ยมากกว่าด้านอื่น ส่วนยุทธศาสตร์ในการ จัดการศึกษาในสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนมียุทธศาสตร์ ในการดำเนินการ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ย่อยประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวขี้'วัด และแนวทางดำเนินงาน 2. ผลการสร้างและประเมินความสอดคล้อง พบว่า ยุทธศาสตร์ มี 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการบริหารจัดการ สนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการ บริหารจัดการให้มีคุณภาพ (2) ด้านหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่มีมาตรฐานมุ่งสู่สากลบนพื้นฐานความเป็นไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3) ด้านการเรียน พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (4) ด้านการสอน ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการ สอนที่เทียบเคียงกับมาตรฐานสากลและเป็นครูมืออาชีพ และ (5) ด้านคุณภาพครู ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาอย่างรอบ ด้านส่วนผลการประเมินความสอดคล้อง พบว่า โดยรวมอยู่ ในเกณฑใข้ได้ เมื่อพิจารณาเป็นรายยุทธศาสตร์ พบว่าอยู่ใน เกณฑ์ใช้ได้ทุกด้าน 3. ผลการตรวจสอบและประเมินความเหมาะสม และ ความเป็นไปได้ของยุทธศาสตร์ พบว่า ด้านเป๋าหมาย มีความ เหมาะสมในระดับมาก และความเป็นไปได้ในระดับมากที่สุด นอกนั้น พบว่า มีความเหมาะสม และความเป็นไปได้ อยู่ใน ระดับมาก 4. ผลการนำเสนอยุทธศาสตร์ พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิ ส่วนใหญ่เห็นด้วย ทั้ง 5 ด้าน โดยมีข้อสังเกตและข้อเสนอ แนะเพื่อให้ยุทธศาสตร์ ทั้ง 5 ด้านมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นคือ ควรปรับให้แนวทางการดำเนินงานดัวซี้วัดให้กระซับซัดเจน มีเป้าหมาย สามารถวัดความสำเร็จและประเมินผลได้อย่าง เป็นรูปธรรม en_US
dc.description.abstract This research aimed to present the strategies for achieving educational administration according to educational reforms in Basic Education Institutions. Four stages of the operation were carried out. Phase 1 investigated background information in administering education according to educational reforms in Basic Education Institutions. Three sample groups consisted of 1) 538 school administrators and teacher representatives, 2) 5 experts, and 3) 3 leading schools. The tools involved an opinion survey questionnaire and an interview. The quantitative data were analyzed by means and standard deviation and the qualitative ones were done by content analysis. Phase 2 drafted the strategies and evaluated them. Seven experts were employed to assess the congruence of the strategies’ main and mi¬nor components and 13 experts were recruited to evaluate the suitability of the strategies and the handbook. The tools included two suitability assessment forms, one for the strategies and one for the handbook. Means and standard deviation were used in the data analysis. Phase 3 examined and evaluated the strategies by using 17 experts. The tool was one assessment form for evaluating the suitability and possibility of the strategies. Means and standard deviation were used in the data analysis. Phase 4 investigated the experts’ advice for strategy implementation. Twenty-five experts were employed. A meeting record form was used in data collection and content analysis was employed in the data analysis. The research findings were as follows: 1. The state of administration of education according to educational reforms was found to be at a higher level while the problems were at a lower level. However, the problems in the instruction and administration gained higher mean scores than other aspects. The schools under the study had the strategies consisting of vision, missions, goals, and sub-strategies which included objectives, goals, indicators, and operational guides. 2. The strategies constructed consisted of 5 aspects: 1) Administration supporting effective learning processes and instruction, 2) Curriculum being standardized for international level based on Thai characteristics and the principles of the Sufficiency Theory, 3) Learning aiming to develop students for having knowledge, morality, and desirable characteristics, 4) Instruction promoting teachers’ competency to meet international standards and teacher’s professional, and 5) Teacher’s Quality developing teachers in all aspects. The strategies were found to be overall and individually congruent to the operational guidelines at a moderate level. 3. The strategies’ suitability showed a higher level for the goal aspect and the possibility at the highest level. The suitability and possibility of the remaining aspects were at a higher level. 4. The experts agreed in the levels of the suitability and possibility of five strategies. They suggested that the operational guidelines should be improved; the indicators should be precise, clear, directional, measurable for success, and concretely evaluative. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน en_US
dc.title ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน en_US
dc.title.alternative Strategies to Achievement of educational management According to education Reform in Basic education Schools en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics