ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ลำนํ้าห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ, ประจญศานต์
dc.date.accessioned 2020-07-14T02:19:34Z
dc.date.available 2020-07-14T02:19:34Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 9 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2557) en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6527
dc.description.abstract โครงการวิจัยแนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของ ผู้สูงอายุในพื้นที่ลำนํ้าห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัย ได้รวบรวมข้อมูลของผู้สูงอายุ เลือกสุ่มกรณีศึกษาจำนวน 136 คน ตามพื้นที่ต้นนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้าของลำนํ้า ห้วยจระเข้มาก ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก โดยมีวัตถุประสงค์ การวิจัย 2 ประการ คือ 1) ศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สังเคราะห์ความเสถานการณ์สุขภาวะผู้สูงอายุจาก 4 พื้นที่ ในโครงการวิจัยภายใต้แผนงาน 2) เผยแพร่องค์ความรู้จาก การสังเคราะห์โครงการวิจัยภายใต้แผนสู่สาธารณะผ่าน สื่อสาธารณะ ผู้วิจัยพบว่า ผู้สูงอายุที่ให้สัมภาษณ์ในภาพ รวม 4 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 60-70 ปี มีระดับการศึกษาขั้นประถมศึกษา มีสถานภาพสมรสแล้ว และยังอยู่กับคู่สมรส ในสัดส่วนใกล้เคียงกับการเป็นหม้าย มีบุตรจำนวน 4-6 คน อาศัยอยู่ในภูมิลำเนาเดิมอยู่กับบุตร หลาน มีจำนวนสมาชิกที่อาศัยอยู่ในบ้าน 3-6 คน ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ร่างกายแข็งแรงแต่มีโรคเบาหวาน โรคหัวใจ และ โรคความดันโลหิต ผู้สูงอายุ 8 ใน 10 คนยังสามารถช่วย ทำงานบ้าน มีส่วนร่วมในการตัดสินปัญหาครอบครัว รู้สึก ว่าตนเองมีคุณค่าในตัวเอง ได้รับการยอมรับจากครอบครัว และได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานยังรู้สึกมีความหวังในชีวิต มีความเต็มใจช่วยเหลือคนอื่นและมีสัมพันธภาพที่ดี กับเพื่อนบ้านปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพ และไม่มีงานอดิเรกเพื่อหารายได้จึงมีรายไดไม่เพียงพอกับค่า ใช้จ่ายส่วนตัว ผู้สูงอายุเกินครึ่งมีไม่มีการเก็บออมก่อนวัยสูง อายุ มีบ้านพักอาศัยที่สร้างมานานกว่า 30 ปี กรรมสิทธิเป็น ของผู้สูงอายุและสร้างบนที่ดินของตนเอง สภาพบ้านมีความ สัมพันธ์กับสถานะทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคมจาก สภาพบ้านส่วนใหญ่ไม่มีการปรับปรุงสภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุ ใช้สอยได้สะดวก ปลอดภัย สอดคล้องกันทุกพื้นที่ ปัจจัย ที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ได้แก่ การมี สุขภาพร่างกายแข็งแรง ความสามารถในการทำประโยชน์แก่ คนในครอบครัวและชุมชนหรือสังคม โดยมีข้อเสนอแนะให้ องค์กรปกครองท้องถิ่น หรือคนในสังคมหนุนเสริมผู้สูงอายุ เพิ่มเติมจากที่เป็นอยู่ ได้แก่ ด้านสุขภาวะทางกาย ในเรื่อง การให้ความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ด้านสุขภาวะทางจิต ในเรื่องกิจกรรมนันทนาการ ด้านเศรษฐกิจ ในเรื่องการหา อาชีพเสริมรายได้นอกจากนี้ต้องไม่ทอดทิ้งผู้สูงอายุที่โดดเดี่ยว ผู้สูงอายุที,เก็บตัวโดยอาศัยการดูแลร่วมกันของคนในชุมชน en_US
dc.description.abstract The data of the research project entitled “Approaches for Developing the Social Well-Being of the Elderly in Huai Chorakhe Mak stream Area in Buriram Province” were collected from a case study group of 136 elderly who are living along the upstream, midstream, and downstream of the Huai Chorakhe Mak stream by using purposive sampling technique. In-depth interview and a survey of the conditions of housing and community’s environment were employed. The 2 objectives of the research were 1) to examine, analyze, compare, and synthesize knowledge derived from well-being situations of the elderly from the 4 research areas which were posed in the framework, and 2) to publicize the knowledge gained from the research project synthesis under the predetermined plan through public broadcasting. It was found that most of interviewees from the 4 areas were females aged 60-70 years. They completed the primary education. The proportion of married elderly who still live with their spouses and widowed elderly was similar. They have 4-6 children and live with their descendants in their domiciles. There were 3-6 family members living in each house. Most of the elderly were physically strong but had congenital diseases. The most common congenital diseases were diabetes, heart diseases, and high blood pressure. However, they were hopeful and felt neither sad nor dispirited. Eight elderly from ten still could help with the house works, participate in decision making regarding the family problems. They viewed that they still had values because they were accepted by their families and their descendants took care of them. They were willing to help other people and had good relationships with their neighbors through merit making activities, participating in traditions organized in the community, and participating in festivals or activities organized by their neighbors. At the present, most of the elderly did not have an occupation or a hobby that could generate incomes. Therefore, they did not have enough personal expenses allowance. More than half of the elderly have not saved their money before getting old. Their houses were built 30 years ago. The home ownership belonged to the elderly. The houses were built on the elderly lands. The conditions of the houses were associated with the economic status (income) and social status of the elderly. From the aforementioned conditions, most of the houses have not been improved in order to provide convenience and security to the elderly to be in line with other areas. Factors promoting self esteem in the elderly were having a healthy and strong body and being able to provide assistance to family members, community, or society. It was suggested that Local Administration Organization or people in the society should support the elderly more in terms of physical well-being by providing health care knowledge, mental well-being regarding recreation and leisure activities, and economy regarding finding a job for generating income. Moreover, the lonely and isolated elderly must not be abandoned. The people in the community should join hand to be the caregivers for these elderly. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ลำนํ้าห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title แนวทางพัฒนาสุขภาวะด้านสังคมของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ลำนํ้าห้วยจระเข้มาก จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics