ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยวงศ์, ณรงค์กร
dc.date.accessioned 2020-03-23T17:45:17Z
dc.date.available 2020-03-23T17:45:17Z
dc.date.issued 2018-03-01
dc.identifier.citation ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 13 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2561 en_US
dc.identifier.issn 2672-9687
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6098
dc.description.abstract โรคหลอดเลือดหัวใจถือเป็นการเจ็บป่วยเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด ผู้ป่วยต้องรับการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อควบคุมและลดความรุนแรงของโรค ตลอดจนการลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราตายจากการเจ็บป่วย ปัจจุบันได้นาแนวคิดการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวมาประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เนื่องจากการจัดการตนเองเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตร บุคคลและครอบครัวมีส่วนรับผิดชอบร่วมกันต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพและการปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตที่เหมาะสมกับโรค สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่ต่อเนื่องโดยมีเป้าหมายที่เฉพาะ คือ การหยุดสูบบุหรี่ งดดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด มีกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกายวันละ 30 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ ควบคุมการรับประทานอาหาร การสร้างสุขภาวะทางจิตและสังคม สามารถควบคุมดัชนีมวลกายอยู่ในช่วง 18.5 - 24.9 กก./ม.2 ระดับความดันโลหิตไม่ให้เกิน 140/90 มม.ปรอท ระดับคลอเลสเตอรอลในเลือด < 200 มก./ดล., LDL-C < 100 มก./ดล. ระดับน้าตาลที่เกาะเม็ดเลือด (HbA1C) ไม่เกิน 7% ซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในระยะยาวนั่นก็คือ การคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ คุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถอยู่กับภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังอย่างผาสุก en_US
dc.description.abstract Coronary heart disease is an incurable chronic illness that needs a lifelong symptomatic control as well as the prevention of complications and mortality. Currently, the individual and family self–management theory has been applied broadly for caring the patient with chronic illness. Self–management is a dynamic process regarded as a behavior that the individuals and family have to perform or take responsibilities to achieve health behavior practice and lifestyle modification. The proximal outcome of self–management consisted of smoking cessation, alcohol abstinence, physical activity of at least 30 minute per day 5 days per week, diet control, mental and social well-being, body mass index of 18.5 - 24.9 Kg/m2, blood pressure of less than 140/90 mmHg, blood cholesterol 200 mg/d or lower, LDL-C 100 mg/dl or lower, and HbA1C of less than 7%. Those activities will lead to distal outcomes of self–management behavior which include maintained health status, good quality of life, and being able to live well with chronic illness. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การจัดการตนเอง, โรคหลอดเลือดหัวใจ en_US
dc.subject self-management, coronary heart disease en_US
dc.title การจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ en_US
dc.title.alternative Self-Management in Coronary Artery Disease en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor narongkorn_chai54@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics