ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้น้้าหมักฮอร์โมนจากผักบุ้งนา ถั่วงอกและ หัวไชเท้าที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author วงศ์ศรีแก้ว, อธิรัฐ
dc.contributor.author วาปีโส, นันทวัฒน์
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2019-11-14T04:21:04Z
dc.date.available 2019-11-14T04:21:04Z
dc.date.issued 2019-09-21
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5806
dc.description ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.2562 en_US
dc.description.abstract การศึกษาอิทธิพลอัตราส่วนที่เท่ากันของ การใช้น้ำหมักฮอร์โมนจากผักบุ้งนา ถั่วงอกและหัวไชเท้าที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า โดยวิเคราะห์ข้อมูลความแปรปรวนทางสถิติของการทดลองแบบ (Completely Randomized Design : CRD ) เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี (LSD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ จำนวน 8 ซ้้า รวมทั้งสิ้น 32 หน่วยการทดลอง โดยแต่ละกรรมวิธีการทดลองใช้อัตราผสมของน้ำหมักฮอร์โมน คือ น้ำหมักฮอร์โมน1 มิลลิลิตร:น้ำ100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย ( T1 ) Control ไม่ใส่น้ำหมักฮอร์โมน ( T2 ) ใส่น้ำหมักฮอร์โมนผักบุ้งนา( T3 ) ใส่น้ำหมักฮอร์โมนหัวไชเท้า ( T4 ) ใส่น้ำหมักฮอร์โมนถั่วงอก ศึกษาการเจริญเติบโตในที่อายุการปลูก 31 , 38 และ 45 วัน เก็บข้อมูลในด้านความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ น้ำหนักสด และน้ำหนักแห้ง ด้านการให้ผลผลิตน้ำหนักสด จากการวิจัย พบว่า การใช้น้ำหมักฮอร์โมนหัวไชเท้า (T4) ส่งผลดีที่สุดด้านการเจริญเติบโตของต้นผักคะน้าแต่ละสิ่งทดลองแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) มีผลต่อด้านความสูงของต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ น้้าหนักสด และ น้้าหนักแห้ง ที่อายุ 31 , 38 และ 45 วัน สามารถนำหัวไชเท้าที่มีสารไซโตไคนินเป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทส้าคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืชน้ามาหมักเป็นฮอร์โมนพัฒนาการเจริญเติบโตพัฒนาการปลูกคะน้าเป็นฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโตและขยายขนาดของพืช สามารถใช้แทนฮอร์โมนไซโตไคนินได้ ช่วยให้ประหยัดต้นทุนการผลิต en_US
dc.description.abstract The study of equal influence ratio of The use of hormones fermented from morning glory Radish, sprouts and bean sprouts that affect the growth and yield of Chinese kale The statistical analysis of variance (Completely Randomized Design: CRD) was used to compare the difference of mean values (LSD). The experiment was divided into 4 treatments with 4 treatments, totaling 32 trials. Each method of experiment using hormonal mixed rate is 1 milliliter of fermentation hormone: 100 milliliters of water contains (T1) Control without hormonal fermentation (T2), fermented with morning glory hormone (T3), with radish hormone fermentation ( T4) Add fermented bean sprouts Study on growth at the age of 31, 38 and 45 days, collected data on plant height, leaf width, leaf length, fresh weight and dry weight. In the production of fresh weight. From the research, it was found that the use of radish fermentation hormone (T4) had the best effect on the growth of Chinese kale, each experiment was statistically significant (p <0.05) affecting the Plant height, leaf width, leaf length, fresh weight and dry weight at the age of 31, 38 and 45 days can be taken radish with cytokinin as a group of growth regulators that play an important role in controlling. Sharing Mill expansion and modification of plant cell fermentation, is a hormone used to improve plant growth, development kale leaves a hormone to stimulate the growth and expansion of the plant. Can be used instead of the cytokinin hormone Helps to save production costs en_US
dc.description.sponsorship Burirun Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผักคะน้า , น้้าหมักฮอร์โมน , ผักบุ้งนา , ถั่วงอก , หัวไชเท้าChinese kale, hormone fermentation, morning glory, bean sprouts, radishes en_US
dc.title ผลการใช้น้้าหมักฮอร์โมนจากผักบุ้งนา ถั่วงอกและ หัวไชเท้าที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้า en_US
dc.title.alternative The effect of the use of hormone fermented water from morning glory Radishes and bean sprouts that are fruitful On the growth and yield of Chinese kale. en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name (วท.บ.)วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.cp@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics