ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

**การพัฒนาเครื่องแต่งกายของวงดนตรีลูกทุ่งเพื่อสร้างเอกลักษณ์ ด้านวัฒนธรรมของภาคใต้

Show simple item record

dc.contributor.author Sarapee, Ekapetch
dc.date.accessioned 2019-08-09T06:37:29Z
dc.date.available 2019-08-09T06:37:29Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) : หน้า 137-145 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5300
dc.description.abstract This was a qualitative investigation to investigate the history of country music bands in Southern Thailand. Eight school country music bands were purposively selected for the case study and data were collected by document study, observation, interview, focus group discussion and workshop. It was found that Southern country music evolved from folk songs and folk performances but modern Southern country music costumes are exaggerated, inappropriate and overtly sexual. They do not represent Southern Thai identity. Costumes were developed by the researchers in response to respondent comments and suggestions in three different sections (head accessories, body accessories and clothing), emphasizing the use of local materials. The important ideas of the designs were to highlight beauty, flexibility, reduce expenditure and increase community income from production. The costumes designed to meet those specifications were for both male and female musicians, singers and female dancers, for both slow and fast songs. The designs of all costumes were based on country music band costume styles, used local fabrics, included accessories created with local materials and incorporated local culture. It is hoped that these developments may be adopted by Southern Thai Look Tung bands and contribute to the reinforcement of local Southern Thai culture. en_US
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมี ความมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา ของวงดนตรี ลูกทุ่งในภาคใต้ ผู้วิจัยได้เลือกวงดนตรีที่ใช้เป็นกรณีศึกษา จากวงดนตรีลูกทุ่งในโรงเรียน 8 วง การดำเนินการวิจัยใช้ วิธีการศึกษาเอกสาร การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และการสนทนากลุ่ม และประชุมปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาที่พบในวงดนตรีลูกทุ่งภาค ใต้ คือ การแต่งกายยังมีสภาพเกินจริง มีการแต่งกายที่ไม่ เหมาะสม สื่อไปในเรื่องเพศ และขาดเอกลักษณ์ในความ เป็นภาคใต้ ผลการพัฒนาเครื่องแต่งกายของวงดนตรีลูก ทุ่ง โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ พบว่า มีแนวคิดในการ พัฒนา 3 ประการ คือ แนวคิดในการพัฒนาเครื่องแต่งกาย โดยเน้นการใช้วัสดุพื้นเมือง คำนึงถึงองค์ประกอบ 3 กลุ่ม คือ เครื่องประดับศีรษะ เครื่องประดับกาย และชุดที่สวม ใส่ และประการสำคัญต้องเน้นความสวยงาม ความคล่อง ตัวในการแสดง เป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้แก่ ชุมชน ชุดที่ออกแบบตามขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย ชุดนักดนตรี ชายหญิง ชุดนักร้องหญิงเพลงช้า เพลงเร็ว ชุดหางเครื่อง เพลงช้า เพลงเร็ว การออกแบบชุดทุกประเภทเน้นการใช้ แบบพื้นฐานทั่วไปของวงดนตรีลูกทุ่ง นำมาตัดเย็บด้วยผ้า พื้นเมือง ประดับตกแต่งด้วยวัสดุท้องถิ่น และเครื่องประดับ ในการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ ข้อเสนอแนะสู่ความยั่งยืนของ การพัฒนาเครื่องแต่งกายวงดนตรีลูกทุ่งเพื่อสร้างเอกลักษณ์ ด้านวัฒนธรรมของภาคใต้ คือควรมีการขยายผลสู่การ จัดการแสดง ต่อยอดสู่การผลิตและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คำสำคัญ เครื่องแต่งกาย ดนตรีลูกทุ่ง เอกลักษณ์ วัฒนธรรม ไทย en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject The Development of Country Music Band Costumes to Create Cultural Identity in Southern Thailand en_US
dc.title **การพัฒนาเครื่องแต่งกายของวงดนตรีลูกทุ่งเพื่อสร้างเอกลักษณ์ ด้านวัฒนธรรมของภาคใต้ en_US
dc.title.alternative The Development of Country Music Band Costumes to Create Cultural Identity in Southern Thailand en_US
dc.title.alternative The Development of Country Music Band Costumes to Create Cultural Identity in Southern Thailand en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics