ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สำหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author จิรายุฑ, ประเสริฐศรี
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:28:22Z
dc.date.available 2019-08-09T04:28:22Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 12, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2557): หน้า 43 - 55 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5283
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมเีดียเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สาหรับ เยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ศิลป วัฒนธรรมท้องถิ่น สาหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ 2) ศึกษาการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง หลังการชมสื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น 3) ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลัง การชมสื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียที่ พัฒนาขึ้น ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช ้ในการวิจัย ได้แก่ เยาวชนจังหวัด บุรีรัมย์ จานวน 372 คน และผู้เข้าชมสื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ จ านวน 35 คน โดยวิธีสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัย ได้แก่ 1) สื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สาหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ 2) แบบประเมินคุณภาพสื่อ มัลติมีเดีย 3) แบบวัดการรับรู้เกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ 5) การเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สาหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ ม ีคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี ก ลุ่มตัวอย่างมีการ รับรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผู้เข ้าชม สื่อมัลติมีเดียผ่านสื่อสังคมออนไลน์ จานวน 35 คน กดปุ่มชอบ (Like) คิดเป็น ร้อยละ 97.10 en_US
dc.description.abstract The objectives of this study were 1) to develop the local arts and cultures multi-media local culture for Buriram juvenile, 2) to study the juveniles’ perception after they watched the developed multi-media, 3) to study the satisfaction of the juveniles after they watched the developed multi-media, 4) to study the satisfaction of the online-audiences after they watched the developed multi-media throughsocial network. The participants in the research were 327 juveniles in Buriram province and 35 online-audiences who watched the developed multi-media, which was selected by accidental sampling. The instruments of this study were the local arts and culture multi-media for Buriram juvenile, evaluation form of the qualification of the local arts and cultures multi-media, the test on multi-media perception, and the questionnaire about satisfaction on broadcasting the local arts and cultures multi-media throughsocial network. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean, and standard deviation. The research result of the development of the local arts and culture multi-media for Buriram juvenile revealed that the qualification of the developed multi-media as a whole was at a good level. The perception of the target groups was at a high level and their satisfaction was also at a high level. 35 online-audiences pressed “like” button, which amounted for 97.10%. In conclusion, the multi-media, developed by the researcher, can be broadcasted the local arts and cultures to Buriram juvenile and online-audiences effectively. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สำหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สำหรับเยาวชนจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Development of the Local Arts and Culture Multimedia for Buri Ram juvenile en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics