ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

จริยธรรมของนักสื่อสารมวลชนหลังนวยุค : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน

Show simple item record

dc.contributor.author วราภรณ์, พงศ์ธรพิสุทธิ์
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:45:38Z
dc.date.available 2019-08-09T03:45:38Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 133 - 138 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5240
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ “ทำไมจึงจำเป็นต้องมีเส้นแบ่งระหว่าง กฎหมาย จริยธรรม ศีลธรรม จรรยาบรรณ และประเพณี” โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปรัชญาเพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดจากการประนีประนอมทุกฝ่ายเท่าที่จะ ทำได้และมีเหตุผลเหนือกว่าทุกฝ่าย ผลการวิจัยพบว่า เหตุผลของฝ่ายตรงข้ามที่สนับสนุนว่าไม่จำเป็นต้องมีเส้นแบ่งระหว่าง กฎหมาย จริยธรรม ศีลธรรม ประเพณี และจรรยาบรรณ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มหน้าที่นิยม เป็นกลุ่มที่มีทรรศนะ สนับสนุนว่า ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเส้นแบ่งระหว่าง กฎหมาย จริยธรรม ศีลธรรม ประเพณี และจรรยาบรรณ เพราะปัญหา ทุกอย่างต้องดูที่เจตนา หากนักสื่อสารมวลชนมีเจตนาดีคือทำตามหน้าที่ของเหตุผลปฏิบัติ มีความเคร่งครัดในศีลธรรม ก็ จะได้นักสื่อสารมวลชนที่มีคุณภาพสูงสุดและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้ดีที่สุด 2) กลุ่มประโยชน์นิยม เป็นกลุ่มที่มี ทรรศนะสนับสนุนว่า ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเส้นแบ่งระหว่าง กฎหมาย จริยธรรม ศีลธรรม ประเพณี และจรรยาบรรณ เพราะ ปัญหาทุกอย่างต้องดูที่ผลของการกระทำ หากผลการกระทำของนักสื่อสารมวลชนไม่ผิดกฎหมาย ก็จะได้นักสื่อสารมวลชน ทีมี่คุณภาพสงู สดุ และทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาตไิ ดดี้ทีสุ่ด วจิ ารณ์เหตผุ ลของฝ่ายตรงขา้ มไดว้ ่า จุดอ่อนของกลุ่มหนา้ ที่ นิยม ได้แก่ “การใช้ความสำนึกในหน้าที่นั้นใช้ได้เฉพาะตัวเท่านั้นแต่ใช้ในสังคมไม่ได้ผล” ส่วนจุดอ่อนของกลุ่มประโยชน์ นิยม ได้แก่ “ขาดแนวทางการอบรมให้ทุกคนในสังคมเดียวมุ่งแสวงหาประโยชน์เพื่อส่วนรวม” เหตุผลของผู้วิจัย เสนอไว้ว่า จำเป็นที่จะต้องมีเส้นแบ่งระหว่าง กฎหมาย จริยธรรม ศีลธรรม ประเพณี และจรรยาบรรณ เพราะสามารถสร้างนักสื่อสาร มวลชนที่มีคุณภาพสูงสุดและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้ดีที่สุดได้ เนื่องจากนักสื่อสารมวลชนจะรู้หน้าที่ที่ควรทำใน ฐานะเป็นพลเมืองที่ดีตามกฎหมาย เป็นคนดีมีคุณธรรมตามหลักจริยธรรมตามที่นักปรัชญาช่วยชี้แนะ เป็นศาสนิกชนที่ดี ของศาสนาตามการชี้นำของนักบวชหรือนักการศาสนา และเป็นผู้มีศรัทธาต่อประเพณีซึ่งเป็นเบื้องหลังประวัติศาสตร์ของ ประเทศตามการชี้แนะของผู้เชี่ยวชาญทางวัฒนธรรม en_US
dc.description.abstract This research aimed to understand the reason why a border between law, ethic, morals, code of conduct, and custom was necessary. It used the philosophical approach to find the middle means for the practical purpose. The results from the study revealed that the reason of antagonist who disagreed with having a border between law, ethic, morals, code of conduct, and custom can be divided into two groups: 1) Deontologism was a group of people who disagreed with having a border between law, ethic, morals, code of conduct, and custom, they believed that every problem depends on intention. If communicators had good intentions which acted on practical reason and were strict in morality, they would become effective communicators who contribute to the country. 2) Utilitarianism was a group of people who disagreed with having a border between law, ethic, morals, code of conduct, and custom, they believed that every problem depends on results of actions. If the result of communicator’s action was not illegal, they will become effective communicators who contribute to the country. In criticism of antagonist’s reason, the weakness of both was found as follows: The weakness of Deontologist was “Using the sense of duty was effective only at the individual level but ineffective at the social level”. The weakness of Utilitarianism was “Lacking of training motivation to everybody in the society to have an intention to seeking the benefit for public”. According to the study, it could be suggested that a border between law, ethic, morals, code of conduct, and custom was necessary because it could make effective communicators who could make the best contribution to the country. The effective communicators would know what they should act as the good citizen by law, by adherent to moral and ethical principles by philosopher’s suggestion, being a good religion follower of priest or religious preacher’s leadership, and adherence to customs which had a historical background by the cultural expert. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject จริยธรรมของนักสื่อสารมวลชนหลังนวยุค : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน en_US
dc.title จริยธรรมของนักสื่อสารมวลชนหลังนวยุค : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน en_US
dc.title.alternative The Ethics of the Postmodern Communicators: An Analytic, Appreciative and Applicative study en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics