ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาหลักสูตรกับความเสมอภาคทางเพศภาวะ

Show simple item record

dc.contributor.author มนตรี, นิวัฒนุวงค์
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:12:23Z
dc.date.available 2019-08-09T03:12:23Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 195 - 205 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5215
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรความเสมอภาคทางเพศภาวะมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน เกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศภาวะ และ 2) แบ่งปันและเรียนรู้แนวทางกระบวนการการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างความ เสมอภาคทางเพศภาวะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้กรอบแนวคิดสตรีนิยม (Feminism Research) เพศภาวะ (Gender) การพัฒนาหลักสูตรหลังสมัยใหม่ (Postmodern Curriculum) และความสัมพันธ์ เชิงอำนาจ (Power Relation) การศึกษาได้แบ่งพื้นที่ศึกษาในลักษณะพื้นที่ทฤษฏี (Theory Sampling) โดยพื้นที่ทางทฤษฏี มีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและนักกิจกรรมที่ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมความเสมอภาคในประเทศไทย จำนวน 12 คน การเก็บข้อมูล โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์เอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยให้สมาชิกตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Member Check) ผล การวิจัยพบว่า 1) ความไม่เสมอภาคที่เกิดขึ้นในสังคมมีมิติของความซับซ้อนและทับซ้อนจนยากที่คลี่ให้เห็นความไม่เสมอภาค ดังกล่าว โรงเรียนเองเป็นสถาบันหนึ่งภายใต้โครงสร้างของสังคมที่มีอิทธิพลอย่างมากในการส่งผ่านความรู้เชิงวัฒนธรรม โดย โรงเรียนนั้นมีบทบาทของในการผลิต (Produce) และ ผลิตซํ้า (Reproduce) ดังนั้นกระบวนการพัฒนาหลักสูตรในแนวคิด เชงิ วฒั นธรรมในลกั ษณะนตี้ อ้ งอาศยั มมุ มองทหี่ ลากหลายเพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง (Transformation) กระบวนดงั กล่าวต้องช่วยเชื่อมระหว่างตัวตนและสังคมวัฒนธรรม อดีต อนาคต การสะท้อนและสังเคราะห์เพื่อปรับโครงสร้างมโนทัศน์ ตัวตนและปรับเปลี่ยนโครงสร้างสังคม อีกทั้งในกระบวนการปรับเปลี่ยนในลักษณะนี้ยังต้องการการเข้ามาแบ่งปันเพื่อได้มาซึ่ง มุมมองที่หลากหลายที่สอดรับกับมิติความซับซ้อนและทับซ้อนดังกล่าว 2) แนวทางพัฒนาหลักสูตรในการส่งเสริมความเสมอ ภาคดังกล่าวเป็นกระบวนการในลักษณะของการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Learning Through Experience) ตามแนวทาง ของ Fiere โดยมี 4 ขั้นตอน คือ (1) Doing/experience Z2) Reflecting (3) Analyzing/Synthesizing และ (4) Applying และการใชแ้ นวคดิ ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในการพฒันากระบวนการเพื่อให้เกิดอำนาจร่วมในการที่จะแบ่งปันประสบการณ์ และค้นหาแนวทางในการสร้างความเสมอภาคในสถานศึกษา en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were 1) to study the current conditions about gender equity and 2) to share and learn about the process for enhancing gender equity. The research design used the qualitative research design. The research paradigm used the Feminism research, Gender, Postmodern Curriculum, and Power Relation. The study was used theory sampling technique. The theory samplings were the 12 experts. The data was collected by participatory observation, in-debt interview, and document analysis. The data was analyzed by content analysis and member check. The results were; 1) the inequity theme was emerged in all society. It has more complexities and hierarchies that difficult to reveal easily. School was the crucial institute under the micro social structure and the most effectiveness for cultural knowledge transmission. According to this role, the school plays in the both, production and reproduction. Therefore, equity promoting process for cultural theme needs the multi-perspectives for transformation. This process was to connect the self and the socio-culture; looking back to the past, looking toward, reflecting, and synthesizing for adjust self-concept and socio-culture. This multi-process also wanted many stakeholders for sharing their ideas and their views that congruence with the complexities and multi-layers in now a day. 2) Curriculum Development Process was the Learning through Experiences Process (L-Es) from Fiere. The process had 4 steps; Doing/experiences, Reflecting, Analyzing/Synthesizing, and Applying. The power relation was used in curriculum development for building the power sharing that will make the people share their experiences and explore the ways for equity in school. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาหลักสูตรกับความเสมอภาคทางเพศภาวะ en_US
dc.title การพัฒนาหลักสูตรกับความเสมอภาคทางเพศภาวะ en_US
dc.title.alternative Gender Equity and Curriculum Developmental Process en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics