ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ฟ้าประทาน, เติมขุนทด
dc.date.accessioned 2019-08-09T02:26:50Z
dc.date.available 2019-08-09T02:26:50Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) : หน้า 255-264 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5188
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพตำบล ในพื้นที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3) เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผล การวิจัยพบว่า 1) มี 3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ อำเภอห้วยราช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.68 การมี ส่วนร่วม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.30 และการทำงานเป็นทีม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.20 วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมาเอง โดยสังเคราะห์จากการ ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรในงานวิจัย 2) รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานประกอบด้วย 6 กิจกรรม ดังนี้ ความรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นำการเสริมสร้างภาวะผู้นำ การเรียนรู้ทักษะการให้บริการ การเรียนรู้การวิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์การพัฒนาทีมงาน และการสร้างทีมงาน ผลการใช้และประเมินผลการใช้รูปแบบพบว่า ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ หลังการทดลองใช้รูป แบบ มีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ en_US
dc.description.abstract The aims of the research were 1) to analyze current conditions and problems of health performance efficiency of the personnel of sub-district health promoting hospitals in Huayrat District, Buriram Province, 2) to design a model for improving health performance efficiency of the personnel, and 3) to implement and evaluate the model. The influence coefficient index of the three factors: leadership, participation and team work was .68, .30 and .20, respectively. Research method was quantitative research. Data were collected using the self-generated questionnaire, and the data were synthesized based on theories and researches related to variables in research. Additionally, the study showed that the model for improving the work performance efficiency of the officers consisted of six activities: knowledge of leadership, building leadership, skills for administration, analysis and evaluation of current conditions and problems, and improving and building teamwork. Finally, the findings indicated that the model has significantly improved work performance efficiency of the personnel of sub-district health promoting hospitals in Huayrat district at the .05 level. In conclusion, the model is practical and appropriate for improving work performance of the officers of the health promoting hospital in Huayrat district, Buriram province. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative A Model for Improving Work Performance Efficiency of the Personnel of Sub-district Health Promoting Hospitals in Huayrat District, Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics