ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

นโยบายปุ๋ยกับระบบวิธีการทำนาข้าวเชิงอนุรักษ์

Show simple item record

dc.contributor.author ธนพัฒน์, จงมีสุข
dc.contributor.author ไพวรรณ, วรปรีดา
dc.contributor.author ภัทรพล, ทศมาศ
dc.date.accessioned 2019-08-07T07:34:25Z
dc.date.available 2019-08-07T07:34:25Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) : หน้า 253-272 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5170
dc.description.abstract ในด้านเกษตรกรรมข้าวถือเป็นสินค้าส่งงออกของประเทศไทยที่มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในตลาดสากล นโยบายรัฐบาลทุกยุคสมัยล้วนแล้วแต่เป็นโยบายสนับสนุนสินค้าเกษตรกรรมประเภทข้าวทั้งสิ้นแต่นโยบายด้านปุ๋ยเพื่อการเกษตรให้กับ เกษตรกรยังไม่เป็นรูปเป็นร่างเท่าที่ควรจะเป็นเพราะปัจจัยทางด้านต้นทุนปุ๋ยที่มีราคาแพงและส่งผลต่อสารเคมีสะสมในดินและสินค้าเกษตร ภาครัฐจึงมีแนวทางกำหนดนโยบายส่งเสริมความยงยืนโดยเน้นทางด้านเกษตรอินทรีย์เชิงอนุรักษ์ เพื่อให้เกษตรกรได้มีทางเลือกในการใช้ปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ ไม่ทา ลายดิน และไม่มีสารตกค้างในสินค้าเกษตร โดยส่งเสริมการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ให้เกษตรกร เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมในอนาคต และมีความมุ่งหมายให้เกิดการขับเคลื่อนภาคเกษตรกรรมเป็น 3 ระยะคือระยะเร่งด่วน ระยะ ต่อเนื่องและระยะยั่งยืน เป้าหมายคือเกษตรกรเป็นศูนย์กลางและการทำงานทุกระดับจะต้องมีผู้รับผิดชอบชัดเจน รวมทั้งให้ความวามสำคัญต่อการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เร่งส่งเสริมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 4 ประเภท ได้แก่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ไถกลบตอ ซังข้าวและพืชไร่ และน้ำหมักชีวภาพ en_US
dc.description.abstract Rice is an export product of Thailand in agricultural sector which is acceptable in the international market. Every government’s policies are all about supporting rice farming, but policy on fertilizer for agriculture is not as concrete as it should be because of the cost factor of expensive fertilizers and the effects on chemical accumulation in soil and agricultural products. The government has adopted a policy of promoting sustainability by focusing on organic agriculture to provide an alternative way to use fertilizers that do not destroy soil and do not contain residues in agricultural products. The government has developed a way to improve organic fertilizer for farmers, preparing to accommodate changes on the plots affecting the agricultural sectors in the future by enforcing three phases of rice farming: urgent period, continuous period, and sustainable period. The target farmers, as the center of management and work at all levels, should have clear responsibilities, emphasize driving policy to action, and accelerate the promotion of the production of four types of organic fertilizers i.e. compost, fresh manure, rice plowing and rice crop, and bio- fermented water. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject นโยบายปุ๋ยกับระบบวิธีการทำนาข้าวเชิงอนุรักษ์ en_US
dc.subject นโยบายปุ๋ยกับระบบวิธีการทำนาข้าวเชิงอนุรักษ์ en_US
dc.title นโยบายปุ๋ยกับระบบวิธีการทำนาข้าวเชิงอนุรักษ์ en_US
dc.title.alternative Fertilizer Policy with Ways of Conservative Rice Cultivation en_US
dc.title.alternative Fertilizer Policy with Ways of Conservative Rice Cultivation en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics