ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor กระพัน ศรีงาน en_US
dc.contributor.advisor เบญจพร วรรณูปถัมภ์ en_US
dc.contributor.author สิทธิพร, รอดฉัยยา
dc.date.accessioned 2019-07-05T08:58:23Z
dc.date.available 2019-07-05T08:58:23Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5037
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมทางแนวคิดการใช้สมองเป็นฐานที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/ 80 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 3-4 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นบริบาลปีที่ 2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกวาดบ้านแสลงพัน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายดายวิธีจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐานจำนวน 3 ชุด 2) แผนการจัดประสบการณ์ประกอบการใช้ชุดกิจกรรม จำนวน 15 แผ่นและ 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นแบบประเมินประเภทคำถามรูปแบบชนิด 3 ตัวเลือกจำนวน 3 ฉบับๆ ละ 5 ข้อ รวมทั้งสิ้น 15 ข้อ ได้ค่าความยากง่าย( P) อยู่ระหว่าง 0.27-0.70 และค่าอำนาจจำแนก(B) อยู่ระหว่าง 0.33-0.67 ค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบที่ แบบ Dependent Samples Test ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.79/85.68 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุดกิจกรรมตามแนวคิดกาใช้สมองเป็นฐาน มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were: 1) to develop the brain-based learning activities based on the standard criterion set of 80/80; 2) to compare the science process skills of early childhood students before and after learning experience by the brain-based learning activities. The samples of this study were 17 early childhood stidents, aged 3-4 years, studying in kingdergaten 2, in the second semester of academic year 2016 at Wat Ban Salaeng Phan Child Development Center. They were selected by using simple random sampling technique. The research instruments used consisted of 1) 3 packages of brain-based learning activities, 2) 15 learning experience plans, 3) 3 seience process skills assessment forms with 3-choice picture questions 5-item each, in total of 15 items. The assessment forms had the difficulty index (p) ranging between 0.27-0.70, discrimination power (b) ranging between 0.33-0.67, and the reliability of 0.89. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, deviation, and dependent samples t-test The results of the study were as follows: 1. The efficiency of developed brain-based learning activities was 83.79/85.68 which was higher than the criterion set at 80/80. 2. The science process skills of early childhood students after learning experience by the brain-based learning activities had statistically significant higher than that before learning experience at 0.01 level en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน en_US
dc.title การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรมตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน en_US
dc.title.alternative The Development of Science Process Skills for Early Childhood Students through Brain-based Learning Activities en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline Curriculum and Instruction en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics