ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

คุณลักษณะที่อาจเป็นภัยในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรลด์ ดาห์ล

Show simple item record

dc.contributor.author ศิริลักษณ์, ศรีพระจันทร์
dc.contributor.author กิตติพงษ์, ประพันธ์
dc.date.accessioned 2019-06-22T07:50:22Z
dc.date.available 2019-06-22T07:50:22Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ( กันยาย-ธันวาคม 2561 ) : หน้า 115 - 130 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5018
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะที่อาจเป็นภัยที่พบในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรอัลด์ ดาห์ล 2) อภิปรายความหมายของคุณลักษณะที่อาจเป็นภัยตามที่บรรยายไว้ในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรอัลด์ ดาห์ล วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและเขียนแสดงผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะที่อาจเป็นภัยมีปรากฏอยู่เป็นจำนวนมากในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรอัลด์ ดาห์ลที่นำมาวิเคราะห์ทั้งหมดจำนวน 10 เรื่อง ได้แก่ James and the Giant Peach (1961), Charlie and the Chocolate Factory (1964), The Magic Finger (1966), The Enormous Crocodile (1978), The Twits (1980), George’s Marvelous Medicine (1981), The BFG (1982), The Witches (1983), Matilda (1988), และ The Minpins (1991) คุณลักษณะที่อาจเป็นภัย ถือได้ว่าเป็นคตินิยมที่ประกอบไปด้วยความทุกข์และสิ้นหวัง ซึ่งเกิดจากแรงกระตุ้นของประสบการณ์ที่เจ็บปวดและขมขื่นของผู้เขียนทั้งในช่วงวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ แม้ว่าวรรณกรรมเด็กคัดสรรของโรอัลด์ ดาห์ล จะจัดอยู่ในประเภทวรรณกรรมแบบแฟนตาซี แต่คุณลักษณะที่อาจเป็นภัยในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรอัลด์ ดาห์ลกลับสะท้อนให้เห็นแง่มุมความเป็นจริงบางประการของการดำรงชีวิตต่อผู้อ่านที่เป็นเด็ก en_US
dc.description.abstract The purposes of the study are to 1) examine the adverse features depicted in Roald Dahl’s selected children’s stories, and 2) discuss the meanings of these adverse features. The qualitative research approach is employed for the investigation and the results are presented by means of descriptive analysis. The examination unveils that adverse features are abundantly portrayed in ten Dahl’s books for children: James and the Giant Peach (1961), Charlie and the Chocolate Factory (1964), The Magic Finger (1966), The Enormous Crocodile (1978), The Twits (1980), George’s Marvelous Medicine (1981), The BFG (1982), The Witches (1983), Matilda (1988), and The Minpins (1991). The adverse features appearing in these books can be regarded as the writer’s dystopian ideologies which were assumably stimulated by his painful childhood and tragic adulthood experiences. Although these Dahlian writings for children are categorized as fantasy stories, it is believed that the adverse features realistically manifest some truths of living aspects to the child audience. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject คุณลักษณะที่อาจเป็นภัยในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรลด์ ดาห์ล en_US
dc.title คุณลักษณะที่อาจเป็นภัยในวรรณกรรมสำหรับเด็กของโรลด์ ดาห์ล en_US
dc.title.alternative Adverse Features in Roald Dahl’s Children’s Literature en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics