ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การนำองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อห้องสมุด 4.0

Show simple item record

dc.contributor.author เดือนฉาย, ไชยบุตร
dc.date.accessioned 2019-06-22T07:36:18Z
dc.date.available 2019-06-22T07:36:18Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร ,ปีที่ 16 ฉบับ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) : หน้า 433-448 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5011
dc.description.abstract การนำองค์กรโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับห้องสมุด เพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แห่งอนาคต ช่วยให้ผู้เรียนรู้สามารถค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอดเวลา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของห้องสมุด 4.0 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานห้องสมุด 4.0และศึกษาปัจจัยการนำองค์กรสำหรับผู้บริหารห้องสมุด 4.0 ด้วยการสำรวจ ข้อมูลจากงานวิจัยและผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารห้องสมุด จำนวน 30 ราย เพื่อประมวลข้อมูล ทางสถิติผลการวิจัยพบว่า รูปแบบห้องสมุด 4.0 เป็นห้องสมุดเสมือนจริงเป็นปัญญาประดิษฐ์ที่ ประมวลข้อมูลจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นความรู้ให้กับผู้สืบค้น และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ กับห้องสมุด 4.0 ต้องสร้างนวัตกรรมการให้บริการและเตรียมพร้อมด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และเครือข่าย ส่วนการนำองค์กรของผู้บริหารห้องสมุด 4.0 ต้องมีความเข้าใจเทคโนโลยี ด้านห้องสมุดแนวใหม่มีการกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจเพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่รูปแบบการบริการอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาบุคลากรมีสมรรถนะด้านดิจิทัล และบริหารจัดการเทคโนโลยีที่เปลี่ยนโฉม รูปแบบห้องสมุด en_US
dc.description.abstract The leadership which employs information technology (IT) for a library, was to provide the future learning resources. This helped the learners to search the knowledge on demand. The objectives of this work are to study the model of Library 4.0, to study the use of IT for Library 4.0, and to study the leadership factors for the library. The data were collected from 30 education leaders and directors, which is then analyzed by statistics. The research was found that the Library 4.0 model could be viewed as virtual library that used artificial intelligence to process eDocuments into knowledge. The IT usage for a library required the development of innovative services and the preparedness of hardware, software and computer network. The director of Library 4.0 must apply emerging technology for changing a library, declare vision and mission for e-Service, build the digital staff, and manage the disruptive technology for this virtual library. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การนำองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อห้องสมุด 4.0 en_US
dc.title การนำองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อห้องสมุด 4.0 en_US
dc.title.alternative Leadership and Information Technology for Library 4.0 en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics