ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ประเมินความสำ เร็จของโครงการบูรณาการของสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 5

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ, ประจญศานต์
dc.contributor.author ิสาข์, แฝงเวียง
dc.contributor.author ิ ปิยชนม์, สังข์ศักดา
dc.contributor.author กฤษณ์, ปิตาทะสังข์
dc.contributor.author ดนัย, นิลสกุล
dc.date.accessioned 2019-06-18T03:23:25Z
dc.date.available 2019-06-18T03:23:25Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16, ฉบับพิเศษ (ม.ค. - เม.ย. 2561) : หน้า 285 - 308 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4787
dc.description.abstract สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเป็นหนึ่งในมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เหมาะสมที่จะนำมาเป็นฐานของการเรียนรู้ในโครงการบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ซึ่งเป็นการบูรณาการการเรียนการสอนระหว่างรายวิชาและบูรณาการกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดยให้กลุ่มนักศึกษาต่างชั้นปีร่วมกัน เรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจนอกห้องเรียนกับชุมชน แสวงหาความรู้และนำ เสนอองค์วามรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ทำให้ได้ผลงานแบบทางสถาปัตยกรรมเพื่อการอนุรักษ์อาคารและใช้ประโยชน์จากอาคารกระบวนการเรียนรู้นี้ทำให้นักศึกษาเกิดความกระตือรือร้นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม ชุมชนมีความพึงพอใจผลงานตระหนักถึงความสำคัญ และเกิดแรงบันดาลใจในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น อันเป็นเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้ยังคงดำรงอัตลักษณ์ท้องถิ่นท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ โครงการประเมินความสำเร็จของโครงการบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปี ที่5 มีวัตถุประสงค์ในการประเมิน 2 ประการคือเพื่อประเมินผลความสำเร็จของโครงการตามตัวชี้วัด ของโครงการและเสนอแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินโครงการในปีต่อไป ทำการประเมินโดยอาศัยแนวคิดการประเมินผลตาม CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม ทำการประเมินระหว่างโครงการและประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ ซึ่งอาศัยเครื่องมือได้แก่แบบประเมิน และประเด็นคำถามในการจัดเวทีสรุปบทเรียน โดยเทคนิค A.A.R. ทา การประเมินจากกลุ่มนักศึกษาจำนวน 29 คน กลุ่มอาจารย์ผู้สอน จำนวน 5 คน และกลุ่มชุมชนเจ้าของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น จำนวน 120 คน ผลการประเมินสรุปได้ว่าโครงการมีความสอดคล้องตามเกณฑ์ของตัวบ่งชี้ที่5.2 ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ. 2557ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาผลการประเมินผลผลิต จากตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวน 6 ตัว ผลการประเมิน บรรลุ 6 ตัว ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ จำนวน 8 ตัว ผลการประเมิน บรรลุ 8 ตัว" en_US
dc.description.abstract Vernacular architecture is a product of the cultural heritage which is suitable to be used as a base for learning project; the integrated program of teaching, research, academic service and preservation of art and culture Architectural Technology of Program, Faculty of Industrial Technology, Buriram Rajabhat University. The integrated projectof teaching and the missionsof the university for applying research methods were carried out to create learning process for university students of different academic years to have classroom outside and cooperative learning with the community, gain knowledge, and propose knowledge of vernacular architecture to create an architectural contribution towards conserving buildings and use of the buildings. This leaning process gote the students engaged in the learning process more than the old teaching method. The people in the community had the satisfaction of overall works which realized the importance of the vernacular architectures, and they were inspired to conserve the vernacular architectures in order to strengthen the communities to maintain its local identity through globalization. The evaluation of the 5 th year successful integration of teaching project, research, outreach and preservation of art and culture of the Architectural Technology program, Buriram Rajabhat University aims to evaluate two aspects of the project: to evaluate the successful indicators of the project, to propose ways to improve the project in the following years. The CIPP Model was utilized to evaluate the process. The evaluation was in line with the tools such as observation, evaluation, and questions in the forum concluded the lesson by using AAR assessment of 29 students, 5 teachers and 120 persons in community about the vernacular architecture. The results revealed that the project was consistent with the basis of indicators number 5.2 to assess the quality of education required by the Office of the Higher Education Act of 2014. Moreover, the evaluation resultsoutput consisted of six indicators of quantitative and 8indicatorsof quality. All these indicators were achieved. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประเมินความสำ เร็จของโครงการบูรณาการของสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 5 en_US
dc.title ประเมินความสำ เร็จของโครงการบูรณาการของสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 5 en_US
dc.title.alternative Evaluation of the5 th YearSuccessful Integrated Project of Architectural Technology Program at Buriram Rajabhat University en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics