ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาสูตรน้้าหมักจากดีปลี สาบเสือและน้อยหน่าที่เหมาะสม ในการปลูกขึ้นฉ่ายในระบบไฮโดรโปนิกส์แบบกะละมัง

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author เวารัมย์, ชลิตา
dc.contributor.author ครุฑประโคน, เสาวลักษณ์
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.date.accessioned 2018-12-14T04:13:39Z
dc.date.available 2018-12-14T04:13:39Z
dc.date.issued 2561-11-26
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4422
dc.description ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์,2561 en_US
dc.description.abstract การพัฒนาสูตรน้ำหมักจากดีปลี สาบเสือและน้อยหน่าที่เหมาะสมในการปลูกขึ้นฉ่ายในระบบไฮโดรโปนิกส์แบบกะละมัง จุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบการใช้สารกำจัดแมลงชีวภาพชนิดต่างๆ ต่อการก้าจัดแมลงและการเจริญเติบโตของผักขึ้นฉ่ายในระบบไฮโดรโปนิกส์ในกะละมัง โดยเปรียบเทียบสารกำจัดแมลงแต่ละชนิด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 4 วิธีการทดลอง จำนวน 4 ซ้ำ จัดกรรมวิธีการทดลองดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 Control ไม่ฉีดพ่นสารกำจัดแมลง อัตราฉีดพ่นทางใบ 1 มิลลิลิตร:600 มิลลิลิตร กรรมวิธีที่ 2 ใช้สารกำจัดแมลงชีวภาพจากใบน้อยหน่า อัตราฉีดพ่นทางใบ 1 มิลลิลิตร:600 มิลลิลิตร กรรมวิธีที่ 3 ใช้สารกำจัดแมลงชีวภาพจากใบสาบเสือ อัตราฉีดพ่นทางใบ 1 มิลลิลิตร:600 มิลลิลิตร และกรรมวิธีที่ 4 ใช้สารกำจัดแมลงชีวภาพจากผลดีปลี อัตราฉีดพ่นทางใบ 1 มิลลิลิตร:600 มิลลิลิตร ด้าเนินการทดลองในโรงเรือนขนาด 0.7 X 3.8 เมตร ระหว่างวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2561 ถึง วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561 บ้านเลขที่ 67 หมู่ 6 ตำบลสะแกวซ้ำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จากนั้นวิเคราะห์ดูจำนวนแมลงและการเจริญเติบโตของผักขึ้นฉ่าย จากการทดลองพบว่า การใช้(T1) Control ปลูกผักขึ้นฉ่ายระบบไฮโดรโปนิกส์ในกะละมัง ไม่ฉีดสารกำจัดแมลงชีวภาพ มีผลต่อด้านการพัฒนาความสูงของต้นขึ้นฉ่ายดีที่สุด ส่วนการในด้านการควบคุมแมลงศัตรูควรใช้ (T2) ปลูกผักขึ้นฉ่ายระบบไฮโดรโปนิกส์ในกะละมัง ฉีดสารกำจัดแมลงชีวภาพจากใบน้อยหน่า 1 มิลลิลิตรต่อน้้า 1.5 ลิตร และ(T4) ปลูกผักขึ้นฉ่ายระบบไฮโดรโปนิกส์ในกะละมัง ฉีดสารกำจัดแมลงชีวภาพจากผลดีปลี 1 มิลลิลิตรต่อน้้า 1.5 ลิตรจะให้ผลในการควบคุมแมลงศัตรูเข้าทำลายได้ดีที่สุด en_US
dc.description.abstract The development of fermented water from Long Pepper. Bitter bush and Sugar Apple suitable for growing celery in a basin hydroponics system. Aims to compare the use of various biological insecticides. The insecticides and growth of celery in hydroponics systems in the basin. Comparing each insecticide. Completely Randomized Design (CRD) was composed of 4 replication methods. The experiment was conducted as follows: Method 1 Control not spray insecticide 1 ml. Of spray: 600 ml. The second method uses biological insecticide from Sugar Apple. 1 ml. Of spray application: 600 ml. 1 ml. Of spraying: 600 ml. And 4 treatments of biological insecticide from Long Pepper. Spray application rate of 1 ml: 600 ml. Experimentally conducted in a house of 0.7 X 3.8 meters between September 28, 2061 and October 19, 2018, at 67 Moo 6, Sakae District. Buriram Province Then analyzed the number of insects and the growth of celery. The experiment showed that the use of (T1) Control to grow celery, hydroponic system in the basin. Do not inject bio-pesticides. Effect on the development of the height of celery best. In the control of insect pests should be used (T2) to grow celery, hydroponic system in the basin. Insecticide pesticides from 1ml of Sugar Apple per 1.5 liters of water and (T4) Hydroponics in basin. Biological insecticide spray from Sugar Apple 1 ml of water to 1.5 liters of water will result in the best control of insect damage. en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ขึ้นฉ่าย, ไฮโดรโปนิกส์ระบบกะละมัง, น้้าหมักชีวภาพ,น้อยหน่า,ดีปลี ,ใบสาบเสือ celery, hydroponics basin, bio-fermentation, Sugar Apple , Sugar Apple, Bitter bush en_US
dc.title การพัฒนาสูตรน้้าหมักจากดีปลี สาบเสือและน้อยหน่าที่เหมาะสม ในการปลูกขึ้นฉ่ายในระบบไฮโดรโปนิกส์แบบกะละมัง en_US
dc.title.alternative The development of fermented water from the dew. Appropriate To grow celery in a basin hydroponics en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต(วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics