ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลของการใช้ปอเทืองและถัว เขียวในการผลิตผักคะน้า

Show simple item record

dc.contributor.author อุบัติ, กรวิชญ์
dc.contributor.author ปิ่นเพชร, ชินดนัย
dc.contributor.author ที่รัก, วิณากร
dc.contributor.author วัฒนพายัพกุล, วนิดา
dc.contributor.author สานุสันต์, สุชาดา
dc.date.accessioned 2018-05-31T05:03:06Z
dc.date.available 2018-05-31T05:03:06Z
dc.date.issued 2560-11-16
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017” “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยัง) ยืน” en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4199
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ปอเทืองและถั่วเขียวในการผลิตผักคะน้า โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely randomized desing; CRD) หน่วยทดลองคือผักคะน้า อายุ 10 วัน จำนวน 420 ต้น ปลูกในถุงขนาด 5x8 นิ้ว แบ่งการทดลองออกเป็น 7 กรรมวิธีๆ ละ 3 ซํ0าๆ ละ 20 ต้น ใช้ระยะเวลาทดลอง 7 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่าที)อายุ 21 วัน พบว่า เส้นผ่านศูนย์กลางต้น ความยาวใบ และความกว้างใบไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ส่วนความสูงต้น จำนวนใบพบว่าที)ผสมดิน 25 เปอร์เซ็นต์กับปุ๋ยหมักถัว) เขียว 75เปอร์เซ็นต์ดีกว่าการใช้ปุ๋ยหมักกรรมวิธีอื่นๆ โดยมีความแตกต่างกันยิ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) ทีอายุ 35 วัน พบว่า เส้นผ่านศูนย์กลางต้น และความยาวใบ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ส่วน ความสูงต้น จำนวนใบ และความกว้างใบพบว่าทีผ) สมดิน 25 เปอร์เซ็นต์กับปุ๋ยหมักถัว) เขียว 75 เปอร์เซ็นต์ดีกว่าการใช้ปุ๋ยหมักกรรมวิธีอื่นๆ โดยมีความแตกต่างกันยิ่ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) และที)อายุ 49 วัน พบว่า ความสูงต้น เส้นผ่านศูนย์กลางต้น จำนวนใบ ความยาวใบ และความกว้างใบ พบว่าที่ผสมดิน 25 เปอร์เซ็นต์กับปุ๋ยหมักถั่วเขียว 75 เปอร์เซ็นต์ดีกว่าการใช้ปุ๋ยหมักกรรมวิธีอื่นๆ โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) ส่วนน้ำหนัก ผลผลิตรวม นํ0าหนักสด และน้ำหนักแห้ง พบว่าที่ผสมดิน 25 เปอร์เซ็นต์กับปุ๋ยหมักถั่วเขียว 75 เปอร์เซ็นต์ดีกว่าการใช้ปุ๋ยหมักกรรมวิธีอื่นๆ โดยมีความแตกต่างกันยิ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) en_US
dc.description.abstract This research aimed to study the effect of Crotalaria juncea and Vigna radiate on Chinese kale production with completely randomized design (CRD). The experimental unit was Chinese kale 10 days old plants 420 seedling in 5 * 8 inches bag. The experiment was divided into 7 treatments of 3 replications, each with 20 replications with period of 7 weeks experimental. The results showed that at 21 days of age, It was found that the diameter, leaf length and leaf width were not significantly different (p> 0.05). Height of tree, number of leaves results showed that 25 percent of soil mixed with Vigna radiate compost 75 percent was better than other compost with the difference was statistically significant (p <0.01). The results showed that at 35 days of age, It was found that the diameter, leaf length and leaf width were not significantly different (p>0.05). Height of tree, number of leaves results showed that 25 percent of soil mixed with Vigna radiate compost 75 percent was better than other compost with the difference was statistically significant (p <0.01).And the results showed that at 49 days of age, It was found that the diameter, leaf length and leaf width were significantly different (p> 0.05). Height of tree, number of leaves results showed that 25 percent of soil mixed with Vigna radiate compost 75 percent was better than other compost with the difference was statistically significant (p <0.01). Total weight, fresh weight and dry weight results showed that 25 percent of soil mixed with Vigna radiate compost 75 percent was better than other compost with the difference was statistically significant (p <0.01). en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ปอเทือง, ถัว; เขียว, ผลผลิต, คะน้า,Crotalaria juncea, Vigna radiate, production, Chinese kal en_US
dc.title ผลของการใช้ปอเทืองและถัว เขียวในการผลิตผักคะน้า en_US
dc.title.alternative Effects of Crotalaria juncea and Vigna radiate on Chinese kale production en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor Korawit012345@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics