ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

เปรียบเทียบผลการใช้ปุ๋ยเคมี อินทรีย์ และอินทรีย์เคมีตามค่าการวิเคราะห์ดินที่มีผลต่อการปลูกผักกาดเขียว

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.contributor.author เครืองรัมย์, ปรัชญา
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.contributor.author สุทธิ, ยืนยง
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2018-05-30T01:41:33Z
dc.date.available 2018-05-30T01:41:33Z
dc.date.issued 2561-05-26
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4192
dc.description ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (ว.ทบ.) เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ,2560 en_US
dc.description.abstract เปรียบเทียบผลการใช้ปุ๋ยเคมี อินทรีย์ และอินทรีย์เคมีตามค่าการวิเคราะห์ดินที่มีผลต่อการปลูกผักกาดเขียว วางแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ Completely Random Design (CRD) ทาการทดลองในสภาพดินที่ปลูกเป็นดินเหนียวปนร่วน มีค่าpH ประมาณ 6.5 (กรดอ่อน) มีปริมาณไนโตรเจนต่า ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ระดับธาตุอาหารปานกลาง และมีโพแทสเซียมที่ละลายนาได้ระดับธาตุอาหารปานกลาง ที่ สวนริมห้วย บ้านสวายจีกน้อย ตาบลสนวน อาเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วย 4 กรรมวิธีทดลอง จานวน 4 ซา ได้แก่ 1) ไม่ใช้ปุ๋ยในการปลูกผักกาดเขียว 2) ใช้ปุ๋ยเคมีในการทดลอง หลังจากปลูกเบี ย10วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-20 0.135 กิโลกรัม หลังจากใส่ปุ๋ยครั่งแรกอีก 10 วันใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 0.036 กิโลกรัม 3) ใช้ปุ๋ยหมักเติมอากาศในการทดลอง(ปุ๋ยอินทรีย์) ใส่ปุ๋ยหมักเติมอากาศก่อนลงเบี ยผักกาดเขียว 16 กิโลกรัม และ 4) ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เคมีในการทดลอง ใส่ปุ๋ยหมักเติมอากาศก่อนลงเบี ยผักกาดเขียว 10 กิโลกรัม หลังจากลงเบี ยผักกาดเขียวได้15วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-20 0.1กิ โลกรัม เก็บรวมทางด้านความสูงของต้น และวิเคราะห์ข้อมูลความแปรปรวนและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสูง เก็บข้อมูลความยาวของใบและ นาหนักสดในระยะเก็บเกี่ยว ผลการศึกษา พบว่า T2 ใช้ปุ๋ยเคมีในการทดลอง หลังจากปลูกเบี ย10วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-20 0.135 กิโลกรัม หลังจากใส่ปุ๋ยครั่งแรกอีก 10 วันใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 0.036 กิโลกรัม มีผลต่อการปลูกผักกาดเขียวทาให้ผักกาดเขียวมีค่าเฉลี่ยความสูงมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ (p>0.05) รองลงมาด้านความยาวใบ และนาหนักสดมากที่สุด คือ T2 ใช้ปุ๋ยเคมีในการทดลอง หลังจากปลูกเบี ย10วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-20 0.135 กิโลกรัม หลังจากใส่ปุ๋ยครั่งแรกอีก 10 วันใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 0.036 กิโลกรัม รองลงมาคือ T3 ใช้ปุ๋ยหมักเติมอากาศในการทดลอง(ปุ๋ยอินทรีย์) ใส่ปุ๋ยหมักเติมอากาศก่อนลงเบี ยผักกาดเขียว 16 กิโลกรัมและที่ส่งผลต่อการปลูกผักกาดเขียวได้ผลผลิตต่าที่สุดในทุกด้าน คือ T1 การไม่ใช้ปุ๋ยเป็นธาตุอาหารแก่ผักกาดเขียว จึงกล่าวได้ว่า T2 ใช้ปุ๋ยเคมีในการทดลอง หลังจากปลูกเบี ย10วันใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-20 0.135 กิโลกรัม หลังจากใส่ปุ๋ยครั่งแรกอีก 10 วันใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 0.036 กิโลกรัม สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตของผักกาดเขียวได้เป็นอย่างดี en_US
dc.description.abstract Comparison of organic and organic chemical fertilizer application based on soil analysis on Chinese Cabbage. Completely Random Design (CRD). The soil is grown in clay soils with a pH value of 6.5 (weak acids) with low nitrogen content. Effective phosphorus, moderate nutrient levels. There are 4 treatments: T1) Do not use fertilizer for growing Chinese Cabbage T2) Use fertilizer Chemical experiments After planting 10 days, 20-25-20 kg of chemical fertilizer was applied. After fertilizing the first 10 days, fertilizing 46-0-0 0.036 kg. T3) Use compost in the experiment (organic fertilizer). Fermentation before the premium of 16 kg of Chinese Cabbage and T4) use of organic fertilizer in the experiment. Compost the air before the premium Chinese Cabbage 10 kg after the Chinese Cabbage for 15 days, enter the chemical fertilizer formula 20-10-20 0.1 geranium total height. Analysis of variance and mean height. Keeps the leaf length and the results showed that T2 used chemical fertilizer in the experiment. After planting 10 days, 20-25-20 kg of chemical fertilizer was applied. After fertilizing the first 10 days, fertilizer 46-0-0 0.036 kg was applied to green leafy vegetables. The difference was significant (p> 0.05). T2 was used for chemical fertilizers. After planting 10 days, chemical fertilizer 20-10-20 0.135 kg was applied. After fertilizing the first 10 days with fertilizers 46-0-0 0.036 kg, followed by T3 composted air in the experiment (organic fertilizer. Incubate the compost before the Chinese Cabbage weight of 16 kg, and the effect on the greenhouse. The lowest yield in all aspects is T1. The use of fertilizer as a nutrient to Chinese Cabbage. T2 used chemical fertilizers in experiments. After planting 10 days, add 20-10-20 kg of chemical fertilizer 0.135 kg. After fertilizing the first 10 days, fertilizer fertilizer 46-0-0 0.036 kg can help increase the yield of Chinese Cabbage as well. en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผักกาดเขียว,ปุ๋ยเคมี,ปุ๋ยอินทรีย์,ปุ๋ยอินทรีย์เคมี,การใช้ปุ๋ยตามค่าการวิเคราะห์ดิน,Chinese Cabbage, Chemical fertilizers, aerated compost, chemical fertilizers, fertilizers based on soil analysis en_US
dc.title เปรียบเทียบผลการใช้ปุ๋ยเคมี อินทรีย์ และอินทรีย์เคมีตามค่าการวิเคราะห์ดินที่มีผลต่อการปลูกผักกาดเขียว en_US
dc.title.alternative Comparison of organic and organic chemical fertilizer application based on soil analysis on Chinese Cabbage en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต (ว.ทบ.)สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics