ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการตลาดถนนคนเดิน กรณีศึกษา ถนนคนเดิน เซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท

Show simple item record

dc.contributor.author สาวิตรี ทองทิพยเนตร
dc.contributor.author ปรีชา ปาโนรัมย
dc.contributor.author สุริยา รักการศิลป
dc.date.accessioned 2018-03-02T07:52:35Z
dc.date.available 2018-03-02T07:52:35Z
dc.date.issued 2561-01-16
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3987
dc.description บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการตลาด ถนนคน เดินเซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท และ 2) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการตลาด ถนนคนเดินเซราะ กราววอล์คกิ้งสตรีท กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารเทศบาล จ านวน 5 คน สมาชิกสภาเทศบาล จ านวน 5 คน คณะกรรมการบริหารตลาด จ านวน 7 คน ตัวแทนชุมชน จ านวน 10คน เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง จ านวน 10 คน และประชาชนที่มาซื้อของที่ตลาดถนนคนเดินเซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท จ านวน 150 คน รวมทั้งสิ้น จ านวน 187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี 3 ลักษณะ ได้แก่ แบบส ารวจรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด มีค่าความเชื่อมั่น 0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อย ละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มผู้ตอบแบบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีอายุ 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพข้าราชการ และมีสถานภาพโสด 2) การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการตลาดถนนคนเดินเซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผน รองลงมาคือ ด้านการ จัดการองค์กร ด้านการควบคุม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านการน าหรือการสั่งการ ตามล าดับ 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าตลาดถนนคนเดินเซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านการส่งเสริมการขาย ตามล าดับ 4) ปัญหาการบริหาร จัดการตลาดถนนคนเดิน กรณีศึกษา ถนนคนเดิน เซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท ที่มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ มีการก าหนดนโยบายในการจัดการไว้แต่ยังไม่ชัดเจน รองลงมาคือ มีปัญหาสถานที่จอดรถ ปัจจุบันจอดบริเวณข้างถนนซึ่งไม่ปลอดภัย และสภาพแวดล้อมยังไม่สวยงาม ไม่ร่มรื่น มีปัญหาขยะ ล้น มีกลิ่นแรงภาพไม่ดี ตามล าดับ และ 5) แนวทางการบริหารจัดการตลาดถนนคนเดิน กรณีศึกษา ถนนคนเดิน เซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท ที่มีจ านวนมากที่สุด ได้แก่ ควรแยกก าหนดนโยบายส าหรับ บริหารเป็นส่วนๆ ไปให้ชัดเจนการผลักดันนโยบายของผู้บริหารควรเริ่มจากผู้น าท้องถิ่น สมาชิกสภา ผู้ใหญ่บ้าน เป็นตัวอย่างปฏิบัติ รองลงมาคือ ควรปรับปรุงทัศนียภาพให้มีที่พักผ่อนอยู่ภายในตลาด ควรจัดสรรงบประมาณออกแบบทัศนียภาพโดยรอบให้มีสวนหย่อม สนามเด็กเล่น และการจัดเก็บ ขยะควรจัดหาพนักงานให้เหมาะสม และควรเก็บขยะเพิ่มขึ้น ตามล าดับ en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ถนนคนเดิน en_US
dc.subject แนวทางการบริหาร en_US
dc.subject การบริหารจัดการตลาด en_US
dc.subject ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ ซื้อสินค้า en_US
dc.subject walking street en_US
dc.subject guidelines for management en_US
dc.subject market management en_US
dc.subject factors affecting the decision-making of buying the products en_US
dc.title ปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการตลาดถนนคนเดิน กรณีศึกษา ถนนคนเดิน เซราะกราว วอล์คกิ้งสตรีท en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics