ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

เพลงพื้นบ้านดีเกีย: บทบาทการอนุรักษ์ของนักเรียนโรงเรียนเกาะยาวน้อย

Show simple item record

dc.contributor.author ทยา เตชะเสน
dc.contributor.author ปมนวัฒน์ สามสี
dc.contributor.author ชนิดา รอดหยู่
dc.date.accessioned 2018-03-02T02:15:17Z
dc.date.available 2018-03-02T02:15:17Z
dc.date.issued 2561-01-16
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3922
dc.description บทคัดย่อ บทความวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาการอนุรักษ์วัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านดีเกีย ในโรงเรียน เกาะยาวน้อย ต าบลเกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการลงพื้นที่บนเกาะยาว น้อย จากการ สัมภาษณ์ข้อมูล ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ครูผู้สอน นักเรียน คณะผู้ร้องเพลงดีเกีย โต๊ะอิหม่าม และชาวบ้านบนเกาะ มีวัตถุประสงค์เพื่อ การศึกษาบทบาทการอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านดีเกียและ การศึกษา ขั้นตอน ของเพลงดีเกีย ผลการศึกษาพบว่าการน า นักเรียนในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์เพลงดีเกีย โดย ครูผู้สอนน าเพลงดีเกีย มาเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาต่างๆ เช่น ภาษาไทย ดนตรี ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น โดยการใช้เพลงในรูปแบบของจัดกิจกรรมการสอนต่างๆ โดยน าเพลงที่ใช้ร้องในขั้นตอนพิธี การแต่งงานของชาวมุสลิมบนเกาะ มีจ านวนเพลง 5 เพลง คือ ดีเกียพาบ่าว ดีเกียสอนบ่าวสาว ดีเกีย สรรเสริญอัลเลาะห์ ดีเกียดายัย ดีเกียสอนหญิง น าโดยโต๊ะอิหม่ามเช็ม กานเรียบผู้น าศาสนาใน ชุมชน เป็นผู้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน ในอดีตใช้เครื่องดนตรี คือ โทน ร ามะนา และไวโอลิน เป็นเครื่อง ดนตรีประกอบปัจจุบันไม่พบผู้บรรเลงเครื่องดนตรีดังกล่าว ประวัติความเป็นมา เพลงดีเกียมี พัฒนาการมาจากการสวด“ซีกิร”คือการสวดสรรเสริญต่ออัลเลาะห์ของชาวอาหรับ แพร่กระจายมา ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย เนื้อหาเพลงดีเกีย เป็นการบอกกล่าวให้กับคู่บ่าวสาวการสั่งสอน ว่า กล่าวตักเตือน การใช้ชีวิตคู่ โดยยึดหลักการสอนจาก ศาสดาในศาสนาอิสลาม ปัจจุบันเพลงดีเกียขาด การสืบทอดเนื่องจากผู้คนรุ่นหลังไม่ได้สืบทอด และผู้ที่ร้องได้ก็เสียชีวิตไปหลายท่าน แนวทางการอนุรักษ์เพลงดีเกีย ๑) ควรสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับเพลงดีเกียใน ชุมชนอยู่ตลอด เนื่องจากผู้ที่สามารถร้องเพลงดีเกียได้ ปัจจุบันมีน้อย เนื่องจากแก่ชรา และเสียชีวิตไป หลายท่านและการสืบทอดยังไม่มีการบันทึกอย่างชัดเจน ๒) การส่งเสริมให้เพลงดีเกีย อยู่ในหลักสูตร การสอนของวิชาภาษาไทย หรือวิชาสังคมศึกษาของโรงเรียนประจ าอ าเภอเกาะยาวน้อย เพื่อปลูกฝัง ให้นักเรียน สามารถร้องเพลงพื้นบ้านที่เป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นได้ ๓) การจัดเก็บข้อมูลเสียงร้องเพลงดี เกียอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักฐานทางวัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ของชาวมุสลิมบนเกาะยาว น้อยจังหวัดพังงา en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ดีเกีย en_US
dc.subject ดายัย en_US
dc.subject ซีกิร en_US
dc.subject Dikea en_US
dc.subject Dayai en_US
dc.subject Zikir en_US
dc.title เพลงพื้นบ้านดีเกีย: บทบาทการอนุรักษ์ของนักเรียนโรงเรียนเกาะยาวน้อย en_US
dc.title.alternative Dikir Folk Song: Conservation role of Koh Yao Noi school students en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics