ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาเปรียบเทียบอาหารเสริมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดโคนน้อย

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์อารยา มุสิกา en_US
dc.contributor.author ไกรกูล, นัจพร
dc.contributor.author โสรัมย์, พรรณพา
dc.contributor.author มุสิกา, อารยา
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2018-01-12T07:01:02Z
dc.date.available 2018-01-12T07:01:02Z
dc.date.issued 2017-12-23
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3581
dc.description วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2560 en_US
dc.description.abstract การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาหารเสริมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดโคนน้อย ทาการทดลองที่บ้านเลขที่ 186 หมู่ที่ 13 บ้านละหาร ตำบลร่อนทอง อาเภอสตึกจังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างวันที่ 14-30 เดือนกรกฎาคม 2560 ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์(Completely Randomized Design: CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้าประกอบด้วย 1. ยูเรีย2. อีเอ็ม3. กkกน้าตาล 4. มูลวัว ผลการทดลองพบว่า ด้านน้ำหนักสดที่มีค่ามากที่สุดคือ มูลวัว รองลงมาคือ กากน้าตาลอีเอ็มและยูเรีย ให้ผลผลิตเฉลี่ย 72.57 66.14 59.43 และ 58.57 กรัม ตามลำดับ ด้านน้ำหนักแห้งที่มีค่ามากที่สุดคือมูลวัวรองลงมาคือกากน้ำตาล อีเอ็ม และ ยูเรีย ให้ผลผลิตเฉลี่ย 5.70 5.29 4.44และ 4.31 กรัม ตามลำดับ ด้านจำนวนดอกที่มีค่ามากที่สุดคือ มูลวัว รองลงมาคือ กากน้าตาล อีเอ็มและ ยูเรีย ให้ผลผลิตเฉลี่ย 20.81 20.43 18.66 และ15.38 ดอก ต่อก้อนเพาะดังนั้นจะเห็นได้ว่า การนามูลวัวมาใช้เป็นอาหารเสริมในการเพราะเห็ดโคนน้อย สามารถช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตด้านน้าหนักสด น้าหนักแห้ง และจานวนดอก เนื่องจากมีธาตุอาหารในมูลวัวมี11 ธาตุ ได้แก่ N, P, K, Ca, Mg, S, Na, Fe, Cu, Mn, และ Zn ซึ่งเหมาะสมกับการนามาเป็นอาหารเสริมและช่วยให้เกษตรลดการใช้สารเคมี ลดต้นทุนการผลิตอีกด้วย คำสำคัญ: เห็ดโคนน้อย ยูเรีย อีเอ็ม กากน้าตาล มูลวัว en_US
dc.description.abstract This experiment is intended to compare the supplements that affect the growth of mushrooms, connoi mushroom (Coprinus fimetarrius). Experiments at the number 186 Moo 13 Banlahan, Ronthong Sub-district, Satuek District, Buriram, 31150. During July, 14-30 2017. Using a completely randomized design (Randomized Completely Design: CRD). The study was divided into 4 groups 3 repeated consists of 1. Urea 2. EM 3. Molasses 4. The cow dung. The results showed that the fresh weight of the most valuable is the cow dung, followed by molasses EM and urea yield and average 72.57 66.14 59.43 58.57 grams respectively. Terms of that data is the most valuable cow is molasses EM and urea. The average yield per mushroom : lump 15.38 20.81 20.43 18.66 cultivation.Therefore, it can be seen that application of cow dung used as a supplementto, because the connoi mushroom (Coprinus fimetarrius). Can help to promote thegrowth in weight and increase the mushroom. Since the nutrients in cow manure contains 11 elements, including N, P, K, Ca, Mg, S, Na, Fe, Cu, Mn, and Zn. Which is suitable to the application of a dietary supplement and help farmers to reduce the use of chemicals, reduce the production cost. Keywords: Mushrooms, Urea, EM, Molasses, Cow dung en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject เห็ดโคนน้อย, ยูเรีย ,อีเอ็ม ,กากน้าตาล ,มูลวัว Mushrooms, Urea, EM, Molasses, Cow dung en_US
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบอาหารเสริมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดโคนน้อย en_US
dc.title.alternative Comparative study on growth of connoi mushroom (Coprinus fimetarrius) en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.degree.level ปรีญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics