ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การแยกและการวิเคราะห์หาปริมาณกรดเฟอร์รูลิก (Ferulic acid) ในข้าวกล้องงอก ด้วยเทคนิคโครมาโทรกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง

Show simple item record

dc.contributor.author กัญญา, มงคลโภชน์
dc.date.accessioned 2017-09-27T07:53:09Z
dc.date.available 2017-09-27T07:53:09Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.citation บทความฉบับเต็ม ภาคโปสเตอร์ การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2473
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปริมาณกรดเฟอร์รูลิกในข้าวกล้องงอกด้วยการสกัดด้วยเอทิลอะซิเตทเป็นตัวทำ ละลาย องค์ประกอบของกรดเฟอร์รูลิกจะถูกแยกด้วยระบบ HPLC ที่มีตัวตรวจวัดเป็นยูวี ตรวจวัดที่ความยาวคลื่น 310 นาโนเมตร ใช้คอลัมน์ HiQSil C18 HS อัตราส่วนของเฟสเคลื่อนที่เป็นอะซิโทไนไทรล์ : กรดอะซิติก 2 % 15 : 85 ปริมาตรโดยปริมาตร อัตราการไหล 1.0 มิลลิลิตรต่อนาที จากกราฟมาตรฐานช่วงความเข้มข้น 10-50 ppm ได้สมการ เชิงเส้นและสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของกราฟมาตรฐานเป็นดังนี้ y = 67028x+24831 R 2 = 0.9993 ปริมาณกรดเฟอร์รู ลิกเฉลี่ยที่ได้จากการวิเคราะห์ข้าวกล้องงอกพันธุ์ดอกมะลิ 105 หอมมะลิแดง และเสาไห้ คือ 14.73 13.74 และ 14.67 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ การวิเคราะห์เชิงปริมาณกรดเฟอร์รูลิกโดยเทคนิคการสร้างกราฟมาตรฐาน (External Standard Method) และการวิเคราะห์โดยเทคนิคการเติมสารมาตรฐาน (Standard Addition Method)ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความมั่นใจที่ 99 %(P<0.01) This methods are studies content ferulic acid in Germinated Brown Rice was extracted with ethyl acetate. Ferulic acid components were separated by isocratic reverse phase HPLC and quantified with a Turnable Absorbance detector at 310 nm. Separation performed Stationary phase on HiQSil C18 HS column. Mobile phase were used Acetronitrile : 2% Acetic acid 15 :85 (v/v) at flow rate 1.0 mL/min. The standard calibration curve obtained at range was 10-50 ppm. The linear regression equation and Coefficient of Determination at calibration curve was y = 67028x+24831 R2 = 0.9993. The mean content ferulic acid in Dawk-Mali 105, Red Jasmine and Sao Hai Germinated Brown Rice were 14.725 13.739 and 14.669 mg/100 g, respectively. In quantitative analysis of total ferulic acid between the external standard method and standard addition method do not give significantly different value at 99 % (P<0.01) confidence interval. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ข้าวกล้องงอก en_US
dc.subject กรดเฟอร์รูลิก en_US
dc.subject HPLC en_US
dc.subject Germinated Brown Rice en_US
dc.subject Ferulic acid en_US
dc.subject HPLC en_US
dc.title การแยกและการวิเคราะห์หาปริมาณกรดเฟอร์รูลิก (Ferulic acid) ในข้าวกล้องงอก ด้วยเทคนิคโครมาโทรกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง en_US
dc.title.alternative Isolation and Determination of Ferulic acid in Germinate brown rice by HPLC en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor kmkanya@kmitl.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics