ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ชาตรี, มาประจง
dc.date.accessioned 2017-09-27T07:37:28Z
dc.date.available 2017-09-27T07:37:28Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ " ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4 " en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2462
dc.description.abstract บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการพัฒนาประสิทธิผลการบริหาร งานวิชาการใน สถานศึกษาขนาดเล็ก ตามความคิดเห็นของบุคลากรจ าแนกตามตัวแปรต้นคือ ต าแหน่ง และเขตพื้นที่การศึกษา และ เพื่อพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย บุคลากรในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ จ านวน 335 คน ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 17 คน และผู้เชี่ยวชาญงานวิชาการ จ านวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 และแบบสอบถามเดลฟาย 3 รอบ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที ทดสอบค่าเอฟค่ามัธยฐาน และ ค่าพิสัยระหว่างควอร์ไทล์ ผลการวิจัยที่ส าคัญสรุปได้ดังนี้ 1. การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ ตามความคิดเห็นของบุคลากรโดยรวม และรายด้าน อยู่ในระดับมาก และเขตพื้นที่ การศึกษาโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก ตามความคิดเห็นของบุคลากรที่มี ต าแหน่งต่างกัน โดยรวมและรายด้านส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและด้านการส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ แตกต่างกันอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษาต่างกันโดยรวม และรายด้านส่วนใหญ่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เทคนิคเดลฟายพบว่าโดยรวมและรายด้านมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด และสังเคราะห์ความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญงานวิชาการ ได้แนวทางส าหรับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก ได้แก่การจัดท า หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา การสร้างแรงจูงใจครูในการ พัฒนาการสอน ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ครูมีความรู้ความเข้าใจในการวัดผลประเมินผลการ เรียน มีระบบการส่งนักเรียนทุกระดับชั้น มีระบบการประกันคุณภาพภายใน การน าผลการประเมินภายนอกมาพัฒนา โรงเรียน มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน ครูมี ความรู้ความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยี มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นพัฒนา คุณภาพนักเรียน ส่งเสริมครูท าวิจัยในชั้นเรียน มีเครือข่ายพัฒนาความรู้ การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับ ชุมชน และส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประสิทธิผล en_US
dc.subject การบริหารงานวิชาการ en_US
dc.subject สถานศึกษาขนาดเล็ก en_US
dc.subject และเทคนิคเดลฟาย en_US
dc.title การพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics